กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อสม. ห่วงใยใส่ใจสุขภาพฟัน (63-l4123-01-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี

บ้านตะบิงติงงี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งซึ่งได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นอันเนื่องมาจากปัจจัยหลายๆอย่างการเปลี่ยนแปลงของการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันที่อาศัยความสะดวกสบายเน้นความรวดเร็วเช่นการบริโภคอาหารโครงสร้างของอาหารที่เปลี่ยนไปขนมกรุบกรอบติดขี้ฟันง่ายขึ้นซึ่งบมีผลต่อการดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก ทั้งรูปแบบของการดูแลเลี้ยงดูเด็กในด้านต่างๆทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพช่องปากต่อไป การดูแลสุขภาพช่องปากเป็นสึ่งสำคัญที่ทุกคนควรใส่ใจดูแลรักษา เพื่อให้มีสุขภาพช่องปากที่ดี วิธีการที่ง่ายที่สุดคือการแปรงฟัน เพื่อให้ปัญหาสุขภาพช่องปากลดลง รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี ร่วมกับ อสม.รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี ได้จัดทำโครงการ อสม.ห่วงใยใส่ใจดูแสุขภาพฟัน เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านการดูแลทันตสุขภาพในชุมชนเพื่อส่งเสริมทันตสุขภาพให้ดีขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 อสม.สามารถลงพื้นที่เยี่ยมบ้านและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้านทันตกรรม

อสม.สามารถลงพื้นที่เยี่ยมบ้านและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้านทันตกรรม ร้อยละ 70

100.00 70.00
2 เพื่อให้ อสม. สามารถส่งเสริมทันตกรรมป้องกันโรคให้ครอบครัวและชุมชน

อสม.สามารถส่งเสริมทันตกรรมป้องกันโรคให้ครอบครัวและชุมชน ร้อยละ 70

100.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 63
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2020

กำหนดเสร็จ 30/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อสม.ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านคัดกรอง

ชื่อกิจกรรม
อสม.ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านคัดกรอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อสม.ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านแและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้านทันตกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20550.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมทันตกรรมสู่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมทันตกรรมสู่ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เจ้าหน้าที่ทันตกรรม รพ.สต. ให้ความรุ้ส่งเสริมทันตกรรมสู่ชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ชุมชนได้ความรู้เกี่ยวกับทันตกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนหมู่ที่ 1,8,11,13 ต.ตลิ่งชัน อ.บันนังสตา จ.ยะลา มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
2.มีการส่งเสริมให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างแท้จริง


>