กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเชิงรุก (DPAC) (63-l4123-01-17)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี

บ้านตะบิงติงงี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พฤติกรรมและวิถีชีวิตมีผลอย่างมากต่อสุขภาวะของมนุษย์ พฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆของแต่ละบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเจ็บป่วยของบุคคลนั้น ๆ จากสถานการณ์ของคนตำบลตลิ่งชันในปัจจุบันพบว่า โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและการตายในลำดับต้น ๆ ปัจจุบันคนตำบลตลิ่งชันมีภาวะอ้วนลงพุงมากขึ้นจากพฤติกรรมบริโภคอารหารรสหวาน มัน เค็ม เพิ่มขึ้นรับประทานผักผลไม้น้อยลงและขาดการออกกำลังกาย ในปี 2562 ผลการสำรวจภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป มีจำนวน 1,996 คนของ รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี พบว่า เพศชายมีรอบเอวเกิดน 90 เซนติเมตร ร้อยละ 42 และเพศหญิงมีรอบเอว 80 เซนติเมตร ร้อยละ 24 ข้อมูลจาก JHCIS ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้กลุ่มเสี่ยง จำนวน 100 คน ได้รับการตรวจสุขภาพพื้นฐาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ดังนั้น รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี ร่วมกับ อสม. ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเชิงรุก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันและเบาหวานเร้อยละ 90

100.00 90.00
2 กลุ่มเสี่ยงได้รับการวัดความดันที่บ้านปกติ

ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการวัดความดันที่บ้านปกติ

100.00 50.00
3 อสม. สามารถเยี่ยวติดตามกลุ่มเสี่ยงได้ถูกต้อง

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดย อสม. มีพฤติกรรมดูแลตนเองได้ถูกต้อง

100.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2020

กำหนดเสร็จ 30/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เคาะประตูบ้าน

ชื่อกิจกรรม
เคาะประตูบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เคาะประตูบ้าน คัดกรองความดัน เบาหวาน กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยงดอาหาร

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยง 100 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6300.00

กิจกรรมที่ 2 เยี่ยมบ้าน

ชื่อกิจกรรม
เยี่ยมบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง ความดัน เบาหวาน เชิงรุก

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยง 100 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดัน และเบาหวาน ปีละ 1 ครั้ง
2.ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการวัดความดันที่บ้านปกติ
3.กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดพุงได้ร้อยละ 80


>