กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการประชาร่วมใจห่วงใยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งโดน

1 นายสมมาศหัดสมัด
2 นางสาวมารีหยำหัสหมัด
3 นางสาวจำเนียรหัสไชย
4 นายประทินจันทรหนู
5 นายประภาสสาเหลา

ตำบลท่าม่วง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการตรวจคัดกรองโรคติดต่อเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวานในประชากร 35 ปีขึ้นไปในปี 2560-2562 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งโดน ( หมู่ที่ 1,5, 11 และ 14 ตำบลท่าม่วง ) พบว่าประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 22.33 , 22.93 และ 25.83 ตามลำดับ ในประชากรเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป 1,292 คน มีความเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานร้อยละ 22.49 , 14.96 และ 13.94 ตามลำดับ ในจำนวนประชากรเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป 1,535 คน โดยมีกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง 323 , 353 และ 308 คน ตามลำดับ กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน 33 ,36 และ 36 ตามลำดับในจำนวนนี้มีผู้ซึ่งป่วยทั้ง 2 โรคในคนเดียวกับรวมอยู่ด้วยจำนวน 121 คน จะเห็นว่าโรคไม่ติดต่อเรื้อรังความดันโลหิตและเบาหวานยังเป็นปัญหาสำคัญของกลุ่มประชากร 30 ปีขึ้นไป มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องลดกลุ่มเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโดยกลุ่มป่วยได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. คือ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย สุรา ยาสูบ อย่างถูกต้อง เพื่อความปลอดภัยและห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งโดน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานควบคุมโรคไม่ติดต่อดังกล่าว

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นประจำทุกปี เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย

ประชาชน 30 ปีขั้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงทุกปีมีความครอบคลุม

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในการดูแลสุขภาพให้ปลอดภัยจากโรคเบาหวาน

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ปลอดภัยจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและติดตามอย่างต่อเนื่อง ปลอดภัยจากภาวะเสี่ยง

0.00
4 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการวินิจจากแพทย์และรักษาตามมาตรฐานการรักษา ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแลและรักษาตามมาตรฐาน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อาหารว่างเครื่องดื่มประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
อาหารว่างเครื่องดื่มประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่าง 25 บ x 18 คน = 450     บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

18

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
450.00

กิจกรรมที่ 2 แบบฟอร์มคัดกรอง

ชื่อกิจกรรม
แบบฟอร์มคัดกรอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุ 2 บ.x 1819 คน = 3,638          บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3638.00

กิจกรรมที่ 3 Glrcus + Strip Test

ชื่อกิจกรรม
Glrcus + Strip Test
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุ 9.63 บ.x 37x50 strip = 17,516.97  บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17516.97

กิจกรรมที่ 4 แอลกอฮอส์ 70% ( 450 ml )

ชื่อกิจกรรม
แอลกอฮอส์ 70% ( 450 ml )
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุ 27.82 บ.x 6 ขวด = 166.92      บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
166.92

กิจกรรมที่ 5 Blood Lanset Handing set

ชื่อกิจกรรม
Blood Lanset Handing set
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุ  360 บ.x 10 กล่อง =  3,600     บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3600.00

กิจกรรมที่ 6 Cootton 0.35 gm

ชื่อกิจกรรม
Cootton 0.35 gm
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุ  64 บ. x 3 ถุง   =      192      บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
192.00

กิจกรรมที่ 7 อาหารว่างเครื่องดื่มประชุมให้ความรู้และตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
อาหารว่างเครื่องดื่มประชุมให้ความรู้และตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่าง 25 บ.x 344 คน = 8,600    บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 34,163.89 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 ประชาชน อายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงทุกปี
2 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมไม่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง
3 ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสียงเพิ่มกลุ่มปกติ
4 ประชากรกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยและได้รับการรักษาตามาตรฐาน
5 ประชากรกลุ่มป่วยได้รับการดูแลและลดภาวะแทรกซ้อน


>