กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยตำบลหนองตาไก้อ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองตาไก้

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยตำบลหนองตาไก้อ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองตาไก้

ชมรมผู้สูงอายุตำบลหนองตาไก้

นายแปลงโนนทะนำ ประธาน/นางน้อย กมลเขต กรรมการ/นางไสวโกสีนันท์กรรมการ/นายบุญล้วนเขตสินยิ่งกรรมการ/นายบุญทันจอมทะลักษณ์กรรมการ

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตตำบลหนองตาไก้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

30.00
2 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

 

20.00
3 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

 

43.00
4 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)

 

9.00
5 จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)

 

20.00
6 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

15.00
7 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน)

 

23.00
8 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน)

 

43.00
9 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น

 

57.00
10 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ

 

2.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

30.00 50.00
2 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

20.00 30.00
3 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

43.00 43.00
4 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

9.00 9.00
5 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)

20.00 43.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง 51

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมตรวจสุขภาพประเมินสุขภาพ 2.ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคในผู้สูงอายุ 3.จัดกิจกรรมออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ 4.กิจกรรมสร้างเสริมความสุข 5 มิติ 5.กิจกรรมการฝึกอาชีพให้ครอบครัวผู้สูงอายุ 6.กิจกรรมฝึกการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 7.กิจกรรมออกเยี่

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมตรวจสุขภาพประเมินสุขภาพ 2.ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคในผู้สูงอายุ 3.จัดกิจกรรมออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ 4.กิจกรรมสร้างเสริมความสุข 5 มิติ 5.กิจกรรมการฝึกอาชีพให้ครอบครัวผู้สูงอายุ 6.กิจกรรมฝึกการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 7.กิจกรรมออกเยี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน  100 คนๆละ 50 บาท -= 5,000 บาท 2.ค่าอาหารว่าง 100 คนๆละ 25 บาท = 2,500 บาท 3.ค่าวัสดุ-ค่าใช้สอย  เอกสาร  แบบประเมิน  วัสดุทำกิจกรรม 2,000 บาท 4.ค่าป้ายโครงการ  500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ  ร้อยละ 100 2.ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 3.ผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100 4.ผู้สูงอายุและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 5.ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณ10,000บาท-จากกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ/ บูรณาการร่วมกับงบภายนอก พมจ.10,000 บาท/งบกองทุน LTC /งบบริจาคจากภาคส่วนอื่นๆ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ครอบครัวชุมชนดูแลช่วยเหลือกันลดภาระค่าใช้จ่ายลดจำนวนผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง


>