กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน

1.นางอุมา รินชะ
2.นายประสิทธิ์ เหล็มนุ้ย
3.นางสาวนัยนา จันทร์ชู
4.นางสุดารัตน์ แก้วรอด
5.นางสาวยุพยงค์ เพชรสังข์

พื้นที่หมู่ที่ 2,3,7,9,10 และ 11 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคไวรัสโคโรนา 2019 ยืนยันสะสม

 

2,989.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

๑. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่
๒. เพื่อจัดให้มีทรัพยากรพอเพียงในการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 847
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 10/06/2020

กำหนดเสร็จ 31/07/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ ๑. ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเอง เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑. ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเอง เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ ๑. ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเอง เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ - แผ่นความรู้เฝ้าระวังโรคโควิด-19 (COVID-19) จำนวน 850 ใบ ราคาใบละ 1 บาท  เป็นเงิน  850 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มิถุนายน 2563 ถึง 24 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ประชาชนร้อยละ 80% มีความรู้ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
850.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2. ตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 (COVID-19) แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2. ตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 (COVID-19) แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • หน้ากากอนามัย ชนิด KN95 สำหรับเจ้าหน้าที่ เพื่อใช้ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวน 50 ชิ้น ชิ้นละ 99 บาท  เป็นเงิน  4,950 บาท
  • เครื่องเทอร์โมสแกนวัดอุณหภูมิร่างกาย จำนวน 3 เครื่อง ราคาเครื่องละ 3,000 บาท เป็นเงิน 9,000  บาท
  • แอลกอฮอล์เจล ล้างมือ ขนาด 450 มิลลิลิตร จำนวน 10 ขวด ราคาขวดละ 250 บาท เป็นเงิน  2,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มิถุนายน 2563 ถึง 24 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

2.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน มีทรัพยากรพอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้
๒. ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดชองโรค


>