กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง

เทศบาลตำบลอ่างทอง

หมุ่ 1-8 ตำบลอ่างทอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยเทศบาลตำบลอ่างทองมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาลพ.ศ. 2496 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบันมาตรา 50(4) ป้องกันและระงับโรคติดต่อปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกมีแนวโน้มสูงขึ้นจากรายงานการเฝ้าระวังของกองระบาดวิทยาและหนังสือแจ้งมาตรการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้รับแจ้งจากกระทรวงมหาดไทยว่า กระทรวงกระทรวงสาธารณสุขรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563ตั้งแต่วันที่1มกราคม - ๒๔ มีนาคม2๕๖๓ พบผู้ป่วยสะสมจำนวน7,134 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน ๔ราย และคาดว่าจะมีการระบาดต่อเนื่องผู้ป่วยจะเริ่มสูงขึ้นตั้งแต่เดือนเมษายนและสูงสุดในเดือนกรกฎาคม
พื้นที่เทศบาลตำบลอ่างทอง เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้เลือดออก ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะขนุน ปีที่ผ่านมามีผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออก จำนวน2ราย ดังนั้นเพื่อให้การระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลง จึงต้องมีการรรรงค์ป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้
เทศบาลตำบลอ่างทองปัจจุบัน จำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง โดยความร่วมมือเทศบาลตำบลอ่างทองร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะขนุน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,636
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/06/2020

กำหนดเสร็จ 30/06/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดซื้อทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 2 ถัง และ จัดจ้างเหมาพ่นสารเคมี และ ประชาสัมพันธ์

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 2 ถัง และ จัดจ้างเหมาพ่นสารเคมี และ ประชาสัมพันธ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มิถุนายน 2020 ถึง 30 มิถุนายน 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18780.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,780.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน ๑ คน
๒. ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมี พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
๓. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
๔. ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง


>