กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลทุ่งพอ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ

บัณฑิตอาสาฯตำบลทุ่งพอ

1.นางสาวซูวัยบ๊ะ มะและ ประธาน โทร 098-0238575
2.นางสาวรอฮานี ทองดอเล๊าะ
3.นางกะรีนา สูกาเกาะ
4.นางศิริพรมุเจะโดะ
5.นายวสันต์ มิหอมมิ
6.นางสาววัชราภรณ์ กามาจิ
7.นางสาวรอบีย๊ะ สลีมิง
8.นางสาวนิศารัตน์ฝอยทอง

ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

50.00
2 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

50.00
3 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

 

60.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

50.00 60.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

50.00 60.00
3 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

60.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 05/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานโครงการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลทุ่งพอ และรับสมัครกลุ่มเป้าหมายในโครงการฯ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานโครงการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลทุ่งพอ และรับสมัครกลุ่มเป้าหมายในโครงการฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมคณะกรรมการ จัดตั้งทีม แบ่งบทบาทหน้าที่ ในการทำงาน

2.รับสมัครกลุ่มเป้าหมายที่สนใจเข้าร่วมโครงการฯในตำบลทุ่งพอ จำนวน 50 คน

ค่าใช้จ่าย

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ * 25 บาท * 15 คน เป็นเงิน 375 บาท

2.ค่าเอกสาร 15 เล่มๆละ 50 บาท เป็นเงิน 750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤษภาคม 2564 ถึง 3 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดกลไกคณะกรรมการโครงการฯ ในการขับเคลื่อนงาน

2.มีกลุ่มเป้าหมายที่เป็นประชาชนในตำบลทุ่งพอ ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1125.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ.

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดบริการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่เข้าอบรม จำนวน 50คน

2.อบบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ เรื่องกิจกรรมกรรมทางกาย ในชีวิตประจำวันที่ส่งเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับระบบกล้ามเนื้อของร่างกายและการออกกำลังกายโดย วิทยากรจาก รพ.สต.ทุ่งพอ

3.อบรมให้ความรู้เกษตรอินทรีย์

4.กิจกรรมกลุ่ม แบ่งกลุ่มตามความสนใจ กิจกรรมการออกกำลังกาย และกิจกรรมทางกาย การวางแผนการปลูกพืชสวนครัว ผักข้างบ้าน ของกลุ่มเป้าหมาย

ค่าใช้จ่าย

1.ค่าอาหาร 1 มื้อ x 60 บาท x 50 คน เป็นเงิน 3,000 บาท

2.ค่าอาหารว่างและเครื่องเดิม 2 มื้อ × 25 บาท × 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท

3.ค่าเอกสาร เป็นเงิน 2,500 บาท

4.ค่าเช่าเครื่องเสียง 1 วัน x 3,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

5.ค่าวิทยากร 2 คน x 8 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน 4,800บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤษภาคม 2564 ถึง 10 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในตำบลทุ่งพอ

2.เกิดกลุ่มเครือข่ายในการผลิตเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ชุมชน

3.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพ

4.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ด้านกิจกรรมทางกาย การออกกำลังกาย เพื่อนำไปสู่การดูแลสุขภาพตนเอง และคนครอบครัว

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15800.00

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมออกกำลังกาย ระยะเวลา 5 เดือน

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมออกกำลังกาย ระยะเวลา 5 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.แบ่งกลุ่ม/แกนนำ/ผู้นำออกกำลังกาย/ ในหมู่บ้าน2 กลุ่ม สัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที โดยใช้ไม้พลอง และยางยืด

2.จัดบริการตรวจคัดกรองสุขภาพ การวัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก ความดัน

3.ติดตามประเมินผล การเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม

ค่าใช้จ่าย

1.ค่าเอกสาร สมุดบันทึกสุขภาพ 50 เล่มๆละ 30 บาท = 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 พฤษภาคม 2564 ถึง 16 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดกลุ่มแกนนำ/ชมรมออกกำลังกาย

2.มีพื้นที่ในการออกกำลังกายในชุมชน

3.เกิดการพบปะพูดคุยของคนในชุมชน ทำให้มีความสามัคคีในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมผลิตปุ่ยอินทรีย์และการปลูกผักสวนครัว ผักข้างบ้าน ในระดับครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมผลิตปุ่ยอินทรีย์และการปลูกผักสวนครัว ผักข้างบ้าน ในระดับครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ผลิตปุ่ยอิ่นทรีย์ใช้เองที่บ้านในรูปแบบ ปุ่ยแห้ง ปุ่ยน้ำ อาจจะรวมกลุ่มทำ หรือเป็นรายบุคคล

2.การติดตามประเมินผล การทำปุ่ย และปฎิทินการปลูกผักในระดับครัวเรือน

ค่าใช้จ่าย 1.สมุดปฎิทินการปลูกผักในระดับครัวเรือน จำนวน 50 เล่มๆละ 30 บาท = 1,500 บาท

2.เมล็ดพันธ์ุผัก จำนวน 20 ซองๆละ 25บาท = 500 บาท

3.กากน้ำตาล จำนวน 50 ลิตรๆละ 35 บาท = 1,750 บาท

4.em จำนวน จำนวน 50 ลิตรๆละ 35 บาท = 1,750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.พื้นที่ชุมชนมีการขยายผลในการปลูกผักสวนครัวและปลูกผักเพิ่มมากขึ้น

2.ครัวเรือนในชุมชนมีการบริโภคผักที่ปลอดภัย

3.ครัวเรือนมีการบริโภคผักเพิ่มมากขึ้น

4.มีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้น ลดการเนือยนิ่งในกลุ่มเด็กเยาวชน และกิจกรรมทางกายในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 5 ถอดบทเรียน คัดเลือกคนต้นแบบ และครอบครัวต้นแบบ

ชื่อกิจกรรม
ถอดบทเรียน คัดเลือกคนต้นแบบ และครอบครัวต้นแบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ถอดบทเรียน ความสำเร็จ และการขยายผล

2.คัดเลือกคนต้นแบบที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกำลังกาย จำนวน 5 คนในตำบลทุ่งพอ

3.คัดเลือกครอบครัวต้นแบบเกษตรอินทรีย์ การปลูกผักสวนครัว ผักข้างบ้าน กินเอง จำนวน 5ครอบครัว ในตำบลทุ่งพอ

ค่าใช้จ่าย

1.วิทยากรถอดบทเรียน จำนวน 1 คน = 5,000 บาท

2.อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ x 25 บาท x 15 คน = 750 บาท

3.อาหารกลางวัน60 บาท x 15 คน = 900บาท

3.รายงานเล่มถอดบทเรียน องค์ความรู้ จำนวน 3 เล่ม ๆละ 200 บาท = ุ600 บาท

4.ค่าเอกสารและวัสดุ500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
7 กันยายน 2564 ถึง 7 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.คนต้นแบบ จำนวน 5 คน ครอบครัววต้นแบบ จำนวน 5 ครอบครัว

2.เกิดการขยายผลไปยังกลุ่มเครือข่ายอื่นๆในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7750.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.สรุปผลการดำเนินงานให้กับกลุ่มเป้าหมายในโครงการ พร้อมทั้งมอบเกียรติบัตรให้กับตนต้นแบบ ครอบครัวต้นแบบ ด้านการออกกำลังกาย และการทำเกษตรอินทรีย์

ค่าใช้จ่าย

1.ค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบ จำนวน 10 ชิ้นๆละ 200 บาท = 2,000 บาท

2.อาหารหลัก 60บาท x50 คน = 3,000 บาท

3.อาหารว่าง 2 มื้อ x 25 บาท x 50 คน =2,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 กันยายน 2564 ถึง 22 กุมภาพันธ์ 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดการขยายผลในการดำเนินโครงการฯในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง

2.เกิดคนต้นแบบ และครอบครัวต้นแบบ เป็นแบบอย่างให้กับคนอื่นๆในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 38,675.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนรู้วิธีการดูแลสุขภาพของตนเอง ออกกำลังกายได้อย่างเหมาะสม และอย่างสม่ำเสมอ
2.อัตราการเจ็บป่วย และการเกิดโรคของผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชนลดลง
3.ประชาชนในชุมขนมีความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพตนเอง โดยการออกกำลังกายและกิจกรรมทางกาย เช่น การทำเกษตร ปลูกผัก ในรูปแบบอินทรีย์
4.สร้างเครือขายหรือขยายผลสู่กลุ่มต่างๆในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง


>