กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผู้สูงอายุสุขภาพจิตดี ชีวีมีสุข บ้านหนองกางเขน ประจำปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง

ชมรมผู้สูงอายุบ้านหนองกาเขน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี

หมู่4,7,8,9,10 และ11 ตำบลบางแม่นาง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)

 

60.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น

 

40.00
3 จำนวนผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม

 

200.00
4 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม (ราย)

 

0.00
5 ร้อยละการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรัง 5 โรค

 

60.00
6 จำนวนผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองต้อกระจก

 

400.00

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี 2563 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบรูณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู้สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2557 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบรูณ์ในปี 2567 หรืออีก 9 ปีข้างหน้า
ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพจิตที่เข้มแข็งย่อมจะสามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้ดียิ่งขึ้น จึงควรมีวิธีการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี รู้จักการดูแล การป้องกันการดูแลภาพจิตใจ และทำความเข้าใจตัวเองให้ดีที่สุด ฝึกทำจิตใจให้สดชื่นแจ่มใส หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ สุขภาพจิตก็จะดีอยู่เสมอ และเมื่อมีปัญหาหรือความเครียดทางจิตใจสามารถหาวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีเหตุผล ชมรมผู้สูงบ้านหนองกางเขนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญปัญหาดังกล่าวจึงจัดโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

60.00 80.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น

40.00 20.00
3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพที่พึงประสงค์โดยผสมผสานการดูแลคุณภาพแบบองค์รวมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต

ผู้สูงอายุให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพที่พึงประสงค์โดยผสมผสานการดูแลคุณภาพแบบองค์รวมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต

90.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองสุขภาพและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
การคัดกรองสุขภาพและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 กรกฎาคม 2563 ถึง 22 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองซึมเศร้าด้วยแบบ 2 Q และ 9 Q

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลและการป้องกันภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลและการป้องกันภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าจัดป้ายโครงการ ขนาด 1x 3 เมตร              เป็นเงิน      450 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 90 คน x  25 บาทต่อมื้อ  X 2  มื้อ เป็นเงิน    4,500 บาท 3.ค่าอาหารกลางวัน 90 คน x 80บาท ต่อมื้อ  X  1  มื้อ      เป็นเงิน      7,200บาท 4.ค่าวิทยากรจำนวน 3 ท่านๆละ 2 ชม.ๆละ 600 บาท        เป็นเงิน      3,600 บาท 5.ค่าวัสดุในการอบรม จำนวน 90 ชุดๆละ 60 บาท                  เป็นเงิน      5,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุมีความรู้ความสามารถ ในการส่งเสริมสุขภาพกายและใจตนเอง  ครอบครัว   และชุมชนได้ถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21150.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามหลังการเข้าร่วมกิจกรรมการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามหลังการเข้าร่วมกิจกรรมการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างหลังการติดตาม ประเมินสุขภาพตามแบบประเมินภาวะซึมเศร้า 90 คน x  25 บาทต่อมื้อ  X 1  มื้อ  =  2,250  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กันยายน 2563 ถึง 9 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองซึมเศร้าด้วยแบบ 2Q และ 9Q

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้สูงอายุมีความรู้ความสามารถ ในการส่งเสริมสุขภาพกายและใจตนเองครอบครัว และชุมชนได้ถูกต้อง


>