กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.อบต.ท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ)

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.อบต.ท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล 3 ขวบ)

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล 3 ขวบ)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ควรจะได้รับการส่งเสริมด้านโภชนาการเพื่อเด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมกับวัย ซึ่งจะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สติปัญญาดี อาหารกลางวันจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องได้รับประทานทุกคน และได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบทั้ง ๕ หมู่ เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้เติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มาพัฒนาประเทศชาติ ต่อไปศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดท่าบอนจึงได้ดำเนินโครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งได้เชิญผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเข้าร่วมโครงการ เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑ ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ร้อยละ ๗๐ เด็กปฐมวัยสามารถบอกวิธีการปลูกผักได้

0.00
2 ๒ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ส่งเสริมการออกกำลังกาย

๒. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน

0.00
3 ๓ เพื่อให้เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้

๓. ร้อยละ ๓๐ เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้

0.00
4 ๔ เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

๔. ร้อยละ ๓๐ ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/08/2020

กำหนดเสร็จ 26/02/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งกลุ่มผู้ปกครองร่วมปลูกผัก

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งกลุ่มผู้ปกครองร่วมปลูกผัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๓ ส.ค. ๖๓ จัดตั้งกลุ่มผู้ปกครองร่วมปลูกผักกับเด็กปฐมวัยในบริเวณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 สิงหาคม 2563 ถึง 7 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จัดตั้งกลุ่มผู้ปกครองร่วมปลูกผักกับเด็กปฐมวัยในบริเวณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๒๐ คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 เตรียมอุปกรณ์ การจัดซื้อ

ชื่อกิจกรรม
เตรียมอุปกรณ์ การจัดซื้อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. เมล็ดพันธุ์พืช ๕0๐ บ. ๒. ปุ๋ยคอก  20  กระสอบ  600 บ.
๓. ปุ๋ยชีวภาพ จำนวน 20 กระสอบ 600 บ. ๔. สายยาง ขนาด ๖ หุน ยาว ๑๐ เมตร

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 2,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ร้อยละ ๗๐ เด็กปฐมวัยสามารถบอกวิธีการปลูกผักได้
๒. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน
๓. ร้อยละ ๓๐ เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้
๔. ร้อยละ ๓๐ ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน


>