กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน รหัส กปท. L5314

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพวิถีใหม่โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้.
กลุ่มคน
1.นายอับดุลอาซีร์ยาหมาย ผู้ประสานคนที่1โทรศัพท์0812775535

2.นางสาวขนิษฐาสะอา ผู้ประสานคนที่2โทรศัพท์0849672581

3. นางจีราวรรณตีกาสม

4. นายศุภวิทย์จิเหม

5. นางสาวสุปราณีย์หลงสมัน
3.
หลักการและเหตุผล

พระราโชวาทในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีเนื่องในพิธีเปิดการประชุมโภชนาการแห่งเอเชีย ครั้งที่ 4 เมื่อวันอังคารที่ 1 พฤศจิกายน 2526 ความตอนหนึ่งว่า “...แม้ในประเทศไทยซึ่งได้ชื่อว่าเป็นอู่ข้าว อู่น้ำของเอเชีย ก็ยังมีปัญหาของการขาดอาหาร ปัญหาทางสุขภาพอนามัย การเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆที่น่าจะรักษาหรือป้องกันได้ โดยการปฏิบัติให้ถูกต้องในเรื่องอาหารการกิน ความสะอาด สุขลักษณะสิ่งแวดล้อม เหล่านี้เป็นต้น นอกจากนั้น เด็กมีจำนวนไม่น้อยมีสภาพการขาดอาหาร เนื่องจากพ่อแม่ไม่ทราบถึงวิธีการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ปฏิบัติกันไปตามความเคยชิน หรือขนบธรรมเนียมที่ได้รับการสั่งสอนมาชั่วลูกหลานแสดงให้เห็นถึงความไม่เข้าใจว่าอาหารและโภชนาการเป็นรากฐานสำคัญของสุขภาพอนามัยตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา...”(กองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา, 2559)นโยบายด้านการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์สถานศึกษา จะต้องปรับปรุงอาคารสถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวกสนามเด็กเล่นให้ได้มาตรฐาน มีความปลอดภัย สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพจัดหาสื่อ อุปกรณ์ ที่มีคุณภาพเหมาะสม มีมาตรฐานและความปลอดภัย การอภิบาลเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาวะที่ดี ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรค ภัย ไข้ เจ็บ (สำนักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2563) การดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูลในการขับเคลื่อนมาตรการสู่การปฏิบัตินโยบายที่ 1 การศึกษาเพื่อความมั่นคงมาตรการที่ 5 ส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้เรียนส่งเสริมสถานศึกษาให้มีการพัฒนานักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีตามแนวทางกระทรวงสาธารณสุข(สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล, 2563) อีกทั้งจุดมุ่งหมายสูงสุดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้เป็นคนดีมีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) จากการผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนตามแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนสำหรับโรงเรียนส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ พบว่าผลการประเมินโดยภาพรวมในระดับ ร้อยละ 58.49 อยู่ในระดับปรับปรุง และการประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานการพัฒนาระบบสุขาภิบาลอาหารที่ดี โดยคณะกรรมการประเมินมาตรฐานการพัฒนาระบบสุขาภิบาลอาหารที่ดี พบว่า ผลการประเมินโดยภาพรวมในระดับร้อยละ 41 อยู่ในระดับปรับปรุง (โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้, 2563) และในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019COVID-19) ทางสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดแนวทางให้โรงเรียนประเมินความพร้อมของครูและสถานศึกษา ศักยภาพในการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัย และแผนการเตรียมความพร้อมด้านการสาธารณสุข การสุขาภิบาล การเรียนรู้ และการประเมินรับมือกับความเสี่ยง ผลการประเมินตนเองสำหรับโรงเรียนในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19) พบว่าโรงเรียนยังขาดความพร้อมในด้าน วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการคัดกรองนักเรียน ผู้ปกครองและผู้มาติดต่อราชการในโรงเรียน อ่างล้างมือ เจลล้างมือ สบู่เหลว ไม่เพียงพอ การจัดทำพื้นที่เว้นระยะห่าง และป้ายประชาสัมพันธ์ แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19) ไม่เพียงพอ และไม่ครอบคลุมพื้นที่
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้ จึงจัดทำโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพวิถีใหม่ เพื่อส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19)รวมทั้งพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สอดรับชีวิตวิถีใหม่และการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19)

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ร้อยละ 100 ได้รับการส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 2. นักเรียน ร้อยละ 95มีภาวะโภชนาการอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียน ร้อยละ 95 ที่มีสุขภาพช่องปากอยู่ในเกณฑ์ปกติ 4. นักเรียน ร้อยละ 95 ที่มีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้ครูและบุคลากร ผู้ปกครองและแม่ครัวโรงเรียนมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติของเด็ก
    ตัวชี้วัด : 1. ครูและบุคลากร ผู้ปกครองและแม่ครัวโรงเรียน ร้อยละ 100 มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติของเด็ก 2. นักเรียน ร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ร้อยละ 90 สามรถปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 2. นักเรียน ร้อยละ 90 มีสุขภาพ สมบูรณ์ แข็งแรงตามเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19)
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ครูและผู้ปกครอง ร้อยละ 100 ได้รับการบริการการเฝ้าระวังและการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา(COVID-19) ในโรงเรียน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 5. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สอดรับชีวิตวิถีใหม่และการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ครูและผู้ปกครอง ร้อยละ 90มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตนตามแนวชีวิตวิถีใหม่และการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา(COVID-19)
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. คัดกรองสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน
    รายละเอียด

    กิจกรรมย่อยคัดกรองสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน

    เป้าหมายนักเรียนจำนวน 53 คน

    รายละเอียดกิจกรรม

    • ดำเนินการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียน

    • ดำเนินการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนตามแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนสำหรับโรงเรียนส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ

    • ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากของนักเรียน

    • ดำเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกายประจำปีของนักเรียน

      • จัดทำทะเบียนสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน

    ไม่ขอใช้งบประมาณ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ส่งเสริมสุขภาพวิถีใหม่
    รายละเอียด

    กิจกรรมย่อย คัดเลือกนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพวิถีใหม่

    เป้าหมาย- นักเรียนจำนวน 10 คน

    • ครูที่ปรึกษา 2 คน

    รายละเอียดกิจกรรม

    • รับสมัครนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพวิถีใหม่

    • คัดเลือกนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพวิถีใหม่

    -แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพวิถีใหม่

    กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 5 – 13 ปี และพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติของเด็ก ให้แก่ครู ผู้ปกครอง และแม่ครัวโรงเรียน

    เป้าหมายจำนวน51 คน

    • ครูและบุคลากรจำนวน 10 คน

    • ผู้ปกครอง 40 คน

    • แม่ครัว 1 คน

    รายละเอียดกิจกรรม อบรมให้ความรู้ เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก

    • ความสำคัญของอาหาร

    • วิธีการปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก

    • โรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ

      อบรมให้ความรู้ เรื่องพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติของเด็ก

    • พฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติของเด็ก

    • การดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน

    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของเด็ก

    • ความเข้าใจข้อมูลและบริการสุขภาพที่เพียงพอต่อการปฏิบัติ

    กิจกรรมย่อย อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทันตสุขภาพและชีวิตวิถีใหม่กับการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19)

    เป้าหมายจำนวน63 คน

    • ครูและบุคลากรจำนวน 10 คน

    • นักเรียนจำนวน 53 คน

    รายละเอียดกิจกรรม

    อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องทันตสุขภาพ

    • ทันตสุขภาพ สำหรับเด็กวัยเรียน

    • กิจกรรมสาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียน

      อบรมให้ความรู้ เรื่องชีวิตวิถีใหม่กับการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19)

    กิจกรรมย่อย อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการป้องกันตนจากสารเสพติด

    เป้าหมายจำนวน74 คน

    • ครูและบุคลากรจำนวน 10 คน

    • ผู้ปกครอง 40 คน

    • นักเรียน ป.4-6 24 คน

    รายละเอียดกิจกรรม

    อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

    • การป้องกันอุบัติเหตุ

    • ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการสาธิต การปฐมพยาบาล

      อบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกันตนจากสารเสพติด

    • หมายของสารเสพติด

    • การป้องกันตนจากสารเสพติด

    กิจกรรมย่อย จัดกิจกรรมทางกายเพื่อการเรียนรู้และทักษะกีฬาที่ชอบ

    เป้าหมายนักเรียนจำนวน 53 คน

    รายละเอียดกิจกรรม

    • สร้างลานกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ ได้แก่ ตารางกระโดด พื้นนับเลข พื้นตัวอักษร

    • ปรับปรุงสนามวอลเลย์บอลและสนามตะกร้อ

    • นักเรียนออกกำลังกายยามเช้า

    • หนึ่งคนหนึ่งกีฬาที่ชอบ

    กิจกรรมย่อยNew Normal School

    เป้าหมายจำนวน104 คน

    • นักเรียนจำนวน 53 คน

    • ครูและบุคลากรจำนวน 10 คน

    • ผู้ปกครอง 40 คน

    • แม่ครัว 1 คน

    รายละเอียดกิจกรรม

    • จัดทำมาตรการความปลอดภัยการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19)ในโรงเรียน

    • จัดจุดคัดกรอง นักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครองและผู้มาติดต่อราชการกับโรงเรียน

    • จัดทำจุดบริการล้างมือให้เพียงพอ

    • สนับสนุนแม่ครัวโรงเรียนตรวจสุขภาพประจำปี

    รายละเอียดกิจกรรม - นำพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติมาปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำวันในโรงเรียน

    • จัดทำจุดเว้นระยะห่างให้ครอบคลุมพื้นที่โรงเรียน

    • จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19

    • จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ และแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19)

    งบประมาณ

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 51 คน จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท (51 คน x 2 มื้อ x 25 บาท) เป็นเงิน 2,550 บาท

    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 51 คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 70 บาท (51 คน x 1 มื้อ x 70 บาท) เป็นเงิน 3,570 บาท

    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

    • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.20 x 2.40เมตร เป็นเงิน 500บาท

      รวมเงิน8,420บาท

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 63 คน จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท (63 คน x 2มื้อ x 25 บาท) เป็นเงิน 3,150 บาท

    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

    รวมเงิน4,950บาท

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 74 คน จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท (74คน x 2มื้อ x 25 บาท) เป็นเงิน 3,700 บาท

    • ค่าอาหารกลางวัน ผู้ปกครอง จำนวน 40 คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 70 บาท (40 คน x 1 มื้อ x 70 บาท) เป็นเงิน 2,800 บาท

    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

      รวมเงิน8,300บาท

    ค่าวัสดุ – อุปกรณ์ สร้างลานกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้และปรับปรุงสนามวอลเลย์บอลและสนามตะกร้อ

    • ค่าสีน้ำพลาสติก สีขาว1กระป๋อง กระป๋องละ 160บาท เป็นเงิน 160บาท

    • ค่าสีน้ำพลาสติก สีน้ำเงิน 2กระป๋อง กระป๋องละ 180 บาท เป็นเงิน 360บาท

    • แปรงทาสี 2 อัน อันละ 40 บาท เป็นเงิน 80บาท

      รวมเงิน600บาท

    จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19

    เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย จำนวน 1 เครื่อง เครื่องละ 2,445บาท เป็นเงิน 2,445บาท

    จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ และแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19)

    • ค่าป้ายไวนิลให้ความรู้ ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 6 แผ่น แผ่นละ 500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

    • ค่ากระดาษ A4 จัดทำจุดให้ความรู้บริเวณต่างๆ จำนวน 4ห่อ ห่อละ 145บาท เป็นเงิน 580บาท

    • ค่าพลาสติกเคลือบขนาด A4 จำนวน 5 ห่อ ห่อละ 385 บาท เป็นเงิน 1,925 บาท

    • ค่าหมึกสีปริ้นเตอร์ จำนวน 1 ชุด ชุดละ 1,280 บาท เป็นเงิน 1,280 บาท

      รวมเงิน9,230บาท

    รวมเป็นเงิน 31,500 บาท

    งบประมาณ 31,500.00 บาท
  • 3. รายงานโครงการ
    รายละเอียด

    กิจกรรมย่อยรายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    รายละเอียดกิจกรรม

    • จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ

    • จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ

      งบประมาณ

    • ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ จำนวน 2 เล่ม เล่มละ 250 บาท เป็นเงิน 500 บาท

      รวมเงิน500บาท

    งบประมาณ 500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 ธันวาคม 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 32,000.00 บาท

หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายต่างๆในทุกกิจกรรมสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรงและมีพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ

2นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และแม่ครัวโรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจภาวะโภชนาการในเด็กและพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติของเด็ก

3นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตนตามแนวชีวิตวิถีใหม่และการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา(COVID-19)

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน รหัส กปท. L5314

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน รหัส กปท. L5314

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 32,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................