กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าน้ำอ้อยม่วงหัก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

เกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัยห่างไกลสารพิษบ้านเขาไม้เดน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าน้ำอ้อยม่วงหัก

รพ.สต.บ้านเขาไม้เดน

อรุณศิริ ภู่อินทวรัญ 0905974199
มาลีพุทธรักษา
จันทิพย์เสนารถ
ไพบูลย์มั่นพุธ
บรรจงแป้นแก้ว

หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านเขาไม้เดน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

39.28
2 จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

 

31.00
3 ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

20.00 15.00
2 เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

31.00 20.00
3 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

39.28 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/08/2020

กำหนดเสร็จ 21/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะทำงาน ๑ มื้อ จำนวน ๕๐ คน ๆ ละ ๓๕ บาท รวมเป็นเงิน ๑,๗๕๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 กรกฎาคม 2563 ถึง 6 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. คณะทำงานมีความเข้าใจวิธีการดำเนินงานตามโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมดูแลสุขภาพเชิงรุก ประกอบด้วย สัมภาษณ์เพื่อประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และเจาะเลือดตรวจคัดกรองผู้เสี่ยงต่อพิษสารกำจัดศัตรูพืช

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมดูแลสุขภาพเชิงรุก ประกอบด้วย สัมภาษณ์เพื่อประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และเจาะเลือดตรวจคัดกรองผู้เสี่ยงต่อพิษสารกำจัดศัตรูพืช
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สัมภาษณ์เพื่อประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และเจาะเลือดตรวจคัดกรองผู้เสี่ยงต่อพิษสารกำจัดศัตรูพืช ๑. ค่าแผ่นโคลีนเอสเตอเรส จำนวน ๔ ขวด ขวดละ ๕๕๐ บาท เป็นเงิน ๒,๒๐๐ บาท ๒. ค่าเข็มเจาะปลายนิ้ว จำนวน ๒๐๐ อัน อันละ ๕ บาท เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กรกฎาคม 2563 ถึง 10 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. จำนวนผู้ที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงโดยการสัมภาษณ์ ผลพบว่ามีความเสี่ยง ๒. จำนวนผู้ที่ได้รับการเจาะตรวจสารพิษตกค้างในเลือด ผลพบว่าเสี่ยง และไม่ปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3200.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรและผุ้บริโภคที่ตรวจพบมีสารพิษตกค้างในเลือด

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรและผุ้บริโภคที่ตรวจพบมีสารพิษตกค้างในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การแนะนำวิธีป้องกันสารเคมีทางการเกษตรและการใช้สารจากธรรมชาติทดแทนสารเคมี แนะนำผู้บริโภคให้สามารถลดหรือเลี่ยงผักที่มีสารเคมีตกค้างทางการเกษตร 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม 1 มื้อจำนวน 60 คน คนละ 35 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท 2.ค่าสมุนไพรรางจืด จำนวน 50 กล่อง ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 3. ค่าวัสดุอุปกรณ์ จำนวน 450 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 กรกฎาคม 2563 ถึง 22 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจวิธีป้องกันสารเคมีทางการเกษตร และการใช้สารจากธรรมชาตทดแทนสารเคมี
  2. ผู้บริโภคมีแนวทางการเลือกบริโภคผักที่ไม่มีสารเคมีตกค้าง และรู้วิธีการทำความสะอาดผักที่ซื้อมาบริโภค
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5050.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เกษตรกรสามารถป้องกันสารเคมีตกค้างการการประกอบอาชึพได้ และสามารถควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ได้


>