กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล 1. การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการจัดการอาหารในชุมชน 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคตามกลุ่มวัย (วัยเด็ก/วัยเรียน.วันทำงาน/วัยสูงอายุ) 3.ส่งเสริมการรวมกลุ่มและพัฒนาแหล่งเรียนรู้

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แกใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล 1. การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการจัดการอาหารในชุมชน 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคตามกลุ่มวัย (วัยเด็ก/วัยเรียน.วันทำงาน/วัยสูงอายุ) 3.ส่งเสริมการรวมกลุ่มและพัฒนาแหล่งเรียนรู้

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แกใหญ่

รพ.สต.แกใหญ่

โรงเรียน จำนวน 5 โรง ศพด.4 ศูนย์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในสังคมปัจจุบัน พบว่า วิถีการดำเนินชีวิตของคนส่วนใหญ่ต้องเร่งรีบในการทำกิจวัตรประจำวันทุกกลุ่มวัย โดยผู้ใหญ่วัยทำงานจะต้องเร่งรีบไปทำงานนอกบ้าน จึงส่งผลให้การเลี้ยงดูบุตรจะต้องเร่งรีบแข่งขันกับเวลาทุกวัน จึงส่งผลให้วิถีการดำเนินชีวิตเปลี่ยนไป โดยเฉพาะการบริโภคอาหารต้องอาศัยการบริโภคอาหารแบบจานเดียว จานด่วน หรืออาหารฟาสฟู๊ดที่หาได้ง่ายรวดเร็วและสะดวกต่อการบริโภค ซึ่งอาหารดังกล่าวเต็มไปด้วยแป้ง หวาน มัน เค็ม ซึ่งเป็นภัยต่อสุขภาพและส่งผลต่อสุขภาพทั้งผู้ใหญ่และเด็ก จนเข้าสู่ภาวะโรคอ้วนและโรคภัยไข้เจ็บได้ โดยพบว่าเด็กอ้วนมีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆในอนาคตได้โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหอบ โรคภูมิแพ้ เป็นต้น นอกจากนี้ภาวะโรคอ้วนยังมีผลกระทบต่อการเรียนของนักเรียนอีกด้วย จากการดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ภาคการศึกษาที่๒ ประจำปี ๒๕๖๐ จำนวน ๕ แห่ง/นักเรียน ๑,๐๒๕ คน พบว่านักเรียนมีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ ๘.๕๘ โดยพบนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มากที่โรงเรียนสุรินทร์ภักดีจำนวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๑๓ โรงเรียนบ้านแกใหญ่ จำนวน ๒๒ คนคิดเป็นร้อยละ ๒๕ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแกใหญ่ จึงเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ในเด็กนักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ในเด็กนักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตำบลแกใหญ่โดยให้ ครู หมอ พ่อ แม่
มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนน้ำหนักเกินเกณฑ์โดยใช้หลัก ๓ อ. ๒ ส. (อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์ สูบบุหรี่ ดื่มสุรา )

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

๑.เพื่อให้เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ๓ อ. ๒ ส. ที่เหมาะสม
๒. เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์(ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน)ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
๓.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มีความรู้ในการร่วมจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่เด็กและตนเอง
๔. เพื่อให้โรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 88
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/09/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 2. วิธีดำเนินการ 1. ขั้นเตรียมการ ๒.๑ เสนอโครงการและแผนงานเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน 2. ขั้นดำเนินการ 2.๒ ประสานงานโรงเรียนส่งนักเรียน เข้ารับการอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย ๒.๓ จัดอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภา

ชื่อกิจกรรม
2. วิธีดำเนินการ 1. ขั้นเตรียมการ ๒.๑ เสนอโครงการและแผนงานเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน 2. ขั้นดำเนินการ 2.๒ ประสานงานโรงเรียนส่งนักเรียน เข้ารับการอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย ๒.๓ จัดอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. วิธีดำเนินการ
  2. ขั้นเตรียมการ     ๒.๑ เสนอโครงการและแผนงานเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน           2. ขั้นดำเนินการ
                   2.๒ ประสานงานโรงเรียนส่งนักเรียน เข้ารับการอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย ๒.๓ จัดอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ. ๒ส.แก่เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ๒.๔ จัดอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ. ๒ส.แก่ ผู้ปกครองเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ๒.๕ เฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเกินและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

  3. ขั้นติดตามประเมินผล ๓.๑ .  สรุปประเมินภาวะโภชนาการเด็กและรายงานผล

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.เด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๒.เด็กวัยเรียน น้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักตามเกณฑ์ > ร้อยละ ๓๐      ๓. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22825.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,825.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.เด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
๒.เด็กวัยเรียน น้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักตามเกณฑ์ > ร้อยละ ๓๐
๓. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ


>