กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนาสาร

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนใส่ใจสุขภาพ ลดหวาน ลดเค็ม ปี 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนาสาร

ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลบ้านนาสาร

1. นายพิชิต สุขสบาย
2. นางสารภี เจริญศิลป์
3. นางวนารี วิชัยดิษฐ

ชุมชนคลองหา และชุมชนนายาง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 คนไทยบริโภคนำ้ตาลสูงถึง 16 ช้อนชาต่อคนต่อวัน ในส่วนของตำบลนาสาร มีกลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน 345 คน

 

345.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารรสหวานในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน

จำนวนครัวเรื่อนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานที่สามารถลดพฤติกรรมการรับประทานอาหารรสหวานได้ อย่างน้อยร้อยละ 20 ของจำนวนครัวเรือนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน

50.00 10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมการใช้เครื่องวัดความหวานความเค็มในอาหารแก่เจ้าหน้าที่และ อสม.

ชื่อกิจกรรม
อบรมการใช้เครื่องวัดความหวานความเค็มในอาหารแก่เจ้าหน้าที่และ อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดซื้อเครื่องวัดความหวานความเค็มในอาหาร -ค่าเครื่องวัดความหวานในอาหาร จำนวน 2 เครื่อง เครื่องละ 10000 บาท เป็นเงิน 20000 บาท -ค่าเครื่องวัดความเค็มในอาหาร จำนวน 2 เครื่อง เครื่องละ 2500 บาท เป็นเงิน 5000 บาท อบรม ชี้แจง ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องวัดความหวานความเค็มในอาหารแก่เจ้าหน้าที่และ อสม. -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรม ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติแก่เจ้าหน้าที่และ อสม. จำนวน 20 คน คนละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1000 บาท -ค่าอาหารกลางวันในการอบรม ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ แก่เจ้าหน้าที่และ อสม. จำนวน 20 คน คนละ 2 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2562 ถึง 31 มกราคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ในการใช้เครื่องวัดความหวาน ความเค็มในอาหาร และสามารถใช้เครื่องมือได้อย่างถูกวิธ๊

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27000.00

กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่วัดความหวาน ความเค็มในอาหารตามครัวเรือน จำนวน 2 ครั้ง/สัปดาห์ แลทุกสัปดาห์ต่อเนื่อง 3 เดือน และบันทึกผลการวัด

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่วัดความหวาน ความเค็มในอาหารตามครัวเรือน จำนวน 2 ครั้ง/สัปดาห์ แลทุกสัปดาห์ต่อเนื่อง 3 เดือน และบันทึกผลการวัด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ลงพื้นที่วัดความหวาน ความเค็มในอาหารตามครัวเรือน จำนวน 2 ครั้ง/สัปดาห์ แลทุกสัปดาห์ต่อเนื่อง 3 เดือน และบันทึกผลการวัด ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ครัวเรือนที่ได้รับการวัดประเมินความหวานความเค็มในอาหารที่ปรุงรับประทาน จำนวน 71 ครัวเรือน มีครัวเรือนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหาร ให้ค่าความหวานความเค็มในอาหารไม่เกินค่าเกณฑ์ที่ควรเป็น และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ประชากรที่ป่วยสามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 46 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 64.64

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

มีครัวเรือนที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรุงอาหารและรับประทานอาหารที่มีค่าความหวานความเค็มตามมาตรฐาน คือ ค่าความหวานในอาหารหรือแกงที่ปรุง ไม่ควรเกิน 5 และค่าความเค็มในอาหารหรือแกงที่ปรุง ไม่ควรเกิน 3 จำนวนอย่างน้อย 10 ครัวเรือน ซึ่งในโครงการมีครัวเรือนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหาร ให้ค่าความหวานความเค็มในอาหารไม่เกินค่าเกณฑ์ดังกล่าว และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ประชากรที่ป่วยสามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 46 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 64.64


>