กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ด้วยหลัก ๓ อ. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำห้วยหลัว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ด้วยหลัก ๓ อ. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำห้วยหลัว

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบอน

นางอภิญญาโคตรลาคำ ผอ.รพ.สต.บ้านบอน
นางศิริวรรณจิตรปรีดาพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นางสาวณิขปัชญาเรืองไชยนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
นายเสกสรรค์กุลกั้งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นางสาวจริยากั้ววิจารย์เจ้าพนักงานสาธารณสุข

เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบอนตำบลลำห้วยหลัว อำเภอสมเด็จจังหวัดกาฬสินธุ์หมู่ที่ ๑ – ๑๐ ตำบลลำห้วยหลัวอ.สมเด็จจ.กาฬสินธุ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

20.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

 

5.00
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

20.00
4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลสุขภาพตนเองดังคำกล่าวที่ว่า“หมอที่ดีที่สุดในโลก คือตัวเราเอง” ๒.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองเบื้องต้น

๑.ประชาชนที่ผ่านการอบรมสามารถเป็นหมอดูแลสุขภาพตนเอง เมื่อเจ็บป่วยเบื้องต้นได้ ๒.ประชาชนที่ผ่านการอบรมเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเจ็บป่วยได้

20.00 10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 357
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,197
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดการอบรมเพื่อเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก ๓ อ. ๒ ส. (๓ อ. อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย และ ๒ส.งดสูบบุหรี่ งดดื่มสุรา) ในการดูแลสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
จัดการอบรมเพื่อเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก ๓ อ. ๒ ส. (๓ อ. อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย และ ๒ส.งดสูบบุหรี่ งดดื่มสุรา) ในการดูแลสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.)สำรวจและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายในการอบรม และสมัครใจเข้าร่วมโครงการ ๒.)จัดการอบรมเพื่อเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก ๓ อ. ๒ ส.  (๓ อ. อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย และ ๒ส.งดสูบบุหรี่  งดดื่มสุรา) ในการดูแลสุขภาพ พร้อมทั้งทดสอบความรู้และประเมินตรวจสุขภาพ ก่อนอบรม และติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหลังเข้าร่วมอบรมโดยใช้หลักสูตร ๓ อ. ๒ ส.  อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ และไม่ดื่มสุรา
๓.)ติดตามประเมิน สรุปผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อบรมให้ความรู้         ๑.กลุ่มผู้ป่วยบ้านละ ๕ คน จำนวน ๑๐ หมู่บ้าน รวม ๕๐ คน     ๒.กลุ่มเสี่ยงบ้านละ ๕ คน จำนวน ๑๐หมู่บ้าน รวม ๕๐ คน     รวม ๑๐๐ คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เข้ารับการอบรมเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองเบื้องต้น


>