กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการลดโรคลดความเสี่ยงลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำห้วยหลัว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลดโรคลดความเสี่ยงลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำห้วยหลัว

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบอน

นางอภิญญาโคตรลาคำผอ.รพ.สต.บ้านบอน
นางศิริวรรณจิตรปรีดาพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นางสาวณิขปัชญาเรืองไชยนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
นายเสกสรรค์กุลกั้งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นางสาวจริยากั้ววิจารย์เจ้าพนักงานสาธารณสุข

๑.กลุ่มประชาชนกลุ่มเสี่ยง และเกษตรกร จำนวน ๑๐ หมู่บ้าน จำนวน ๖๐๐ คน ๒.กลุ่มเกษตรผู้ฉีดพ่น และ กลุ่มเสี่ยง จำนวน ๑๐๐ คน - สถานที่ดำเนินการ หมู่ที่ ๑ – ๑๐ ตำบลลำห้วยหลัว อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

 

35.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อประเมิน และเฝ้าระวัง คัดกรองสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยงจากการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ๒.เพื่อให้เกษตรกรตระหนักมีความรู้และมีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง ๓.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงให้ปลอดภัยจากสารเคมีในเลือด

๑.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง และตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือด ๒.ประชาชน ผู้ตรวจพบความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับได้รับการตรวจซ้ำ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓.ประชาชน และเกษตรกรมีความรู้ ในการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง และรู้จักวิธีการบริโภคพืชผักให้ปลอดภัย

35.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2020

กำหนดเสร็จ 30/06/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มประชาชนทั่วไป และเกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
ตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มประชาชนทั่วไป และเกษตรกร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.สำรวจกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน ๒.จัดเตรียมวัสดุ  เครื่องมือ อุปกรณ์ และบุคลากรในการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสารเคมีในเลือด ๓.ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย  และนัด วัน เวลาและนัดสถานที่ในการตรวจ ๔.ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มประชาชนทั่วไป และเกษตรกร  ตามวัน  และเวลาที่นัดหมาย ๕.ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานผู้ฉีดพ่น เกี่ยวกับการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง การหลีกเลี่ยง การบริโภคและการปฏิบัติตัวให้ปลอดภัยจากสารเคมี ๖.ให้บริการตรวจซ้ำแก่กลุ่มที่มีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับมีความเสี่ยง และไม่ปลอดภัย
๗.เก็บตัวอย่างผลิตผลจากการเกษตรสุ่มตรวจหาปริมาณสารมีตกค้าง ๘.สุ่มตรวจผัก ผลไม้ ในตลาดชุมชน เพื่อให้เป็นตลาดสีเขียวปลอดสารเคมีในตำบล ๙.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน  เมื่อสิ้นสุดโครงการพร้อมรายงานผลการดำเนินงาน งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลลำห้วยหลัว  จำนวน ๙,๓๕๒ บาท (เก้าพันสามร้อยห้าสิบสองบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้ ๑.ค่าวัสดุตรวจสารเคมีกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส จำนวน ๑๒ ชุดๆละ ๓๒๑ บาท เป็นเงิน ๓,๘๕๒บาท ๒.ค่าป้ายอบรม จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๕๐๐ บาท ๔.ค่าอาหารเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่และอสม.ตรวจคัดกรอง ครั้งละ ๕๐๐ บาท จำนวน ๑๐ ครั้ง เป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น ๙,๓๕๒ บาท  ( เก้าพันสามร้อยห้าสิบสองบาทถ้วน )

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง และตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือด     ๒.ประชาชน ผู้ตรวจพบความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับได้รับการตรวจซ้ำ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม     ๓.ประชาชน และเกษตรกรมีความรู้ ในการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง และรู้จักวิธีการบริโภคพืชผักให้ปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9352.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,352.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง และตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือด
๒.ประชาชน ผู้ตรวจพบความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับได้รับการตรวจซ้ำ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
๓.ประชาชน และเกษตรกรมีความรู้ ในการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง และรู้จักวิธีการบริโภคพืชผักให้ปลอดภัย


>