กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการประชาชนปลอดภัย ห่างไกลสารเคมี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ประชากรไทยมีอาชีพพื้นฐานอยู่ในภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อย แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสภาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลัน และเรื้อรังตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิการ และปริมาณที่ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู้ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนังที่ไม่สวมถุงมือและรองเท้าบู๊ท ป้องกันขณะทำงานกับสารเคมี การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทำให้เกษตรกรมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้นยกตัวอย่างเช่น ใช้ถังภาชนะบรรจุสารเคมีที่รั่วซึม ฉีดพ่นสวนทิศทางลมทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมีโดยไม่อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ซึมเปื้อนทันที เป็นต้นสารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู้ร่างกาย ทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมาเช่นโรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ เป็นต้น
จากข้อมูลดังกล่าว แสดงว่าเกษตรกรมีระดับความไม่ปลอดภัยและมีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ทั้งนี้เนื่องจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงส่งผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรจึงได้จัดทำโครงการประชาชนปลอดภัย ห่างไกลสารเคมี ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภคได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด เพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีในการประกอบอาชีพมีความรู้เรื่องเกี่ยวกับพิษจากสารเคมี

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้เรื่องพิษจากสารเคมี

0.00
2 เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในการใช้สารเคมี

เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างร้อยละ 80

0.00
3 เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ

เกษตรกรมีความรู้ในการปลูกพืชปลอดสารพิษ และวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 26/08/2020

กำหนดเสร็จ 28/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้และดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างในกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีกำจัดในการประกอบอาชีพ รุ่นที่ 1 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ที่ 3 บ้านควนโหมด และหมู่ที่ 11 บ้านหัวปอ จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้และดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างในกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีกำจัดในการประกอบอาชีพ รุ่นที่ 1 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ที่ 3 บ้านควนโหมด และหมู่ที่ 11 บ้านหัวปอ จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้และเจาะเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการประกอบอาชีพ  จำนวน ๕๖ คนๆละ 1 มื้อละ 60 บาท  เป็นเงิน 3,36๐.- บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้และเจาะเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการประกอบอาชีพ  จำนวน ๕๖ คนๆละ 2 มื้อละ 2๕ บาท เป็นเงิน ๒,๘๐๐.- บาท   - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๓ ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  ๑,๘00.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
26 สิงหาคม 2563 ถึง 26 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7960.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้และดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างในกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีกำจัดในการประกอบอาชีพ รุ่นที่ 2 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ที่ 9 บ้านปากพล และหมู่ที่ 10 บ้านครองชีพ จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้และดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างในกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีกำจัดในการประกอบอาชีพ รุ่นที่ 2 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ที่ 9 บ้านปากพล และหมู่ที่ 10 บ้านครองชีพ จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้และเจาะเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการประกอบอาชีพ  จำนวน ๕๖ คนๆละ 1 มื้อละ 60 บาท  เป็นเงิน 3,36๐.- บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้และเจาะเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการประกอบอาชีพ  จำนวน ๕๖ คนๆละ 2 มื้อละ 2๕ บาท เป็นเงิน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๓ ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  ๑,๘00.- บาท๒,๘๐๐.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 สิงหาคม 2563 ถึง 27 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7960.00

กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้และดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างในกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีกำจัดในการประกอบอาชีพ รุ่นที่ 3 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ที่ 1 บ้านหาดไข่เต่า และหมู่ที่ 14 บ้านคลองกระอาน จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้และดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างในกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีกำจัดในการประกอบอาชีพ รุ่นที่ 3 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ที่ 1 บ้านหาดไข่เต่า และหมู่ที่ 14 บ้านคลองกระอาน จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้และเจาะเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการประกอบอาชีพ  จำนวน ๕๖ คนๆละ 1 มื้อละ 60 บาท  เป็นเงิน 3,36๐.- บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้จัดการอบรมให้ความรู้และเจาะเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการประกอบอาชีพ  จำนวน ๕๖ คนๆละ 2 มื้อละ 2๕ บาท เป็นเงิน ๒,๘๐๐.- บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๓ ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  ๑,๘00.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
28 สิงหาคม 2563 ถึง 28 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7960.00

กิจกรรมที่ 4 ค่าวัสดุอื่นๆ ที่ใช้ในการดำเนินการตามโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ค่าวัสดุอื่นๆ ที่ใช้ในการดำเนินการตามโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่ากระดาษทดสอบหาปริมาณโคลีนเอสเตอเรส จำนวน ๓ ขวดๆละ ๙๕๐ บาท เป็นเงิน  ๒,๘๕๐-บาท   - ค่าป้ายไวนิลโครงการฝึกอบรม ขนาด 1.2*2.4 เมตร  1  แผ่นๆละ  576 บาท   - ค่าถ่ายเอกสารแผ่นความรู้ จำนวน ๒๙๐ แผ่นๆละ ๑ บาท เป็นเงิน  ๒๙๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
26 สิงหาคม 2563 ถึง 28 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3716.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,596.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>