กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ

นางสาวนูรือมาลายามุง

อาคารโรงเรียนผู้สูงอายุ อบต.บาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคขาดสารไอโอดีน 0-5 ปี

 

70.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา ได้รับไอโอดีนปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย

 

0.00 0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ โดยชุมชน เพื่อชุมชน

 

0.00
3 เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชน ในการมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาโรคขาดไอโอดีนในพื้นที่

 

0.00
4 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาเหตุ และอันตรายจากการขาดสารไอโอดีน การควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

 

0.00
5 ส่งเสริม/สนับสนุนให้ชุมชนใช้เกลือเสริมไอโอดีนในการปรุงอาหาร

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/08/2020

กำหนดเสร็จ 15/10/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้การปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้การปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชม.ๆละ 600 บาท                       เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มจำนวน 70 คนๆละ 60 บาท           เป็นเงิน 4,200 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 70 คน  เป็นเงิน 3,500 บาท
  • ค่าไวนิล 1.2 x 2.4                                                                 เป็นเงิน 600 บาท
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 สิงหาคม 2563 ถึง 15 ตุลาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. หญิงมีครรภ์ในเขตพื้นที่ตำบลบาละได้รับสารไอโอดีนเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
2. อัตราการเกิดโรคคอพอกในเด็กนักเรียนประถมศึกษา ไม่เกิน ร้อยละ 0.5
3. ทุกโรงเรียนในเขตรับผิดชอบได้มีการส่งเสริมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนปรุงอาหารกลางวัน เป็นประจำ
4. หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานแล้วที่พร้อมจะมีบุตร ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคขาดสารไอโอดีนของเด็กในครรภ์พร้อมได้รับการส่งเสริมให้ดื่มน้ำไอโอดีนเป็นประจำ ได้รับยา โอบีมีนเสริมไอโอดีนตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์


>