กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

คัดกรองความเสี่ยงเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.ดอนจาน ปี 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชำผักแพว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

คัดกรองความเสี่ยงเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.ดอนจาน ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชำผักแพว

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านดอนจาน หมู่ที่ 4 ตำบลชำผักแพว

นายบัณฑิตย์ ปิ่นทอง ผู้อำนวยการ รพ.สต. ดอนจาน เบอโทร 086-812-5391

หมู่ที่ 1, 3 , 4 , 8 ตำบลชำผักแพว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

10.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

10.00
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

10.00 15.00
2 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

10.00 15.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

10.00 15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2020

กำหนดเสร็จ 01/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ค้นหากลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่

ชื่อกิจกรรม
ค้นหากลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณในกิจกรรมการคัดกรอง จำนวน 33,430 บาท 1. คัดกรองแจกแบบคัดกรองให้แก่ อสม. ที่รับผิตชอบในหมู่บ้านของตนเองก่อน
2. เจ้าหน้าที่นำข้อมูลมาคัดกรอง เพื่อสรุปปัญหาและจำนวนผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อ และให้อสม.ประจำหมู่บ้านนัดผู้ป่วยมาคัดกรองในวันเวลาที่กำหนด 3. อสม.และเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต. คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พร้อมให้ความรู้และการปฏิบัติตัวกับผู้ป่วย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 10 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. อัตราการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในชุมชนลดลง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
33430.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณในกิจกรรมเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วย จำนวน 2 ครั้ง รวมทั้งสิ้นจำนวน 26,570 บาท 1. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้กลุ่มเสี่ยงได้ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และเสริมสร้างกำลังใจให้แก่กัน
2.ส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
3. สาธิตการประกอบอาหารตามหลักโภชนาการ
4. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2563 ถึง 1 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. อัตราการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในชุมชนลดลง
  3. ผู้ป่วยปรับพฤติกรรม หันมาออกกำลังกายมากขึ้น และรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26570.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 60,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2. อัตราการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในชุมชนลดลง
3. ผู้ป่วยปรับพฤติกรรม หันมาออกกำลังกายมากขึ้น และรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ
4. อสม. มีศักยภาพเพิ่มขึ้นในการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง


>