กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปลักหนู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการรำไทเก็ก บ้านโคกแค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปลักหนู

รพ.สต.ปลักหนู

นาย คมสันติ์ปิ่นแก้วโทร 08 3186 3519

หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 ตำบลปลักหนู

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

31.06
2 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

30.00

สถานการณ์การออกกำลังกายของประชาชนในตำบลปลักหนู ปัจจุบันมีมากขึ้น เนื่องจากทุกคนหันมาใจใจกับสุขภาพ ไม่ว่าจะเป้นการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักยาน การวิ่ง การเต้นแอโรบิค หรือแม้แต่การรำไทเก็กของผู้สูงอายุ อีกทั้งหน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมการออกกำลังกายของคนในชุมชน ทั้งงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ และมีสถานที่ออกกำลังกาย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

31.06 36.06
2 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

30.00 35.00
3 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

30.00 35.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารความเข้าใจ เรื่อง กิจกรรมทางกายเป็นมากกว่าการออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
การสื่อสารความเข้าใจ เรื่อง กิจกรรมทางกายเป็นมากกว่าการออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. การตั้งกลุ่มเฟสบุค เรื่อง กิจกรรมทางกายของคนในชุมชน และมีการแนะนำโดย เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. งบประมาณ 0 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกิดการสื่อสารและทำความเข้าใจ เรื่อง กิจกรรมทางกาย เป้นมากกว่าการออกกำลังกาย
  2. ประชาชนและบุคคลทั่วไป มีความเข้าใจเรื่องกิจกรรมทางกาย
  3. มีการสื่อสารรูปแบบ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ออกกำลังกายด้วยการรำไทเก็ก

ชื่อกิจกรรม
ออกกำลังกายด้วยการรำไทเก็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ฝึกวอมร่างกายก่อนการออกกำลังกาย
  2. การยืดหยุ่นร่างกาย
  3. การรำไทเก็ก

งบประมาณ
1. ค่านำเต้นและรำไทเก้ก เดือนละ 3,600 บาท จำนวน 5 เดือน
2.ค่าป้ายไวนิลโครงการ 450 บาท
3.ค่าน้ำดื่ม 1,550 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้สูงอายุและวัยแรงงานมีเวลาออกกำลังกาย สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 1 ชั่วโมง จำนวน 5 เดือนต่อเนื่อง
  2. ผู้สูงอายุสุขภาพแข็งแรงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสุขภาพ
  3. วัยแรงงานมีเวลาออกกำลังกายมากขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>