กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงกาโครงการดูแลฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปบ้านระหารประจำปี 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทนมีย์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงกาโครงการดูแลฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปบ้านระหารประจำปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทนมีย์

บ้านระหาร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

25.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

25.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

25.00 25.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

25.00 25.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการ/กิจกรรม ดูแลฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปี

ชื่อกิจกรรม
โครงการ/กิจกรรม ดูแลฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นเตรียมการ         1. จัดทำโครงการเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติ         2. ประชุมชี้แจงแก่อาสาสมัครสาธารณสูงและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมและทำความเข้าเพื่อ      รับทราบ นโยบายและแนวทางการดำเนินงานเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง         3. ประสานงานขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง         4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานตามโครงการ     ขั้นดำเนินการ         1. ประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนรับทราบสถานการณ์ของโรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางสุขภาพ    ที่ไม่ถูกต้องและส่งกระทบให้เกิดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง         2. จัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองสุขภาพแก่ประชาชนที่มีอายุ 35  ปี ตามเกณฑ์มาตรฐานการ      ตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นโดยการวัดดัชนีมวลกาย(BMI)และเส้นวัดรอบเอว ตรวจคัดกรองภาวะ    น้ำตาลในเลือดและตรวจวัดความดันโลหิต         3. กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคล อสม.ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อคัดแยกกลุ่มประชาชนที่มี      พฤติกรรมเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังคือเบาหวานและความดันโลหิต เพื่อออกติดตาม    ให้บริการในเชิงรุก โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพในด้านการดูแลเฝ้าระวังและ    ป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่          สาธารณสุขและทีมสุขภาพในพื้นที่จำนวน 3 ครั้งแต่ละครั้งห่างกันครั้งละ 3 เดือน (กำหนดจัดกิจกรรม        ในช่วงเดือนมกราคม เมษายนและกรกฎาคมของงบประมาณนั้น     ขั้นสรุปผลการดำเนินการ         1. สรุปผลการดำเนินโครงการ 3. ระยะเลาดำเนินการ      เดือนมกราคมถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓         
4. สถานที่ดำเนินการ      ศาลากลางหมู่บ้านเกรียด หมู่ที่ ๒ ตำบลเทนมีย์  อำเภอเมืองสุรินทร์ จงหวัดสุรินทร์                         .            5. งบประมาณ                                                                                                                                                 จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ   องค์การบริหารส่วนตำบลเทนมีย์      จำนวน   34,440      บาท           รายละเอียด ดังนี้         - ค่าป้ายโครงการ   เป็นเงิน  600    บาท         - ค่าป้ายรณรงค์   เป็นเงิน  1,500 บาท         - ค่าสถานที่ จำนวน 3 ครั้งๆละ 500 บาท   เป็นเงิน  1,500  บาท         - ค่าเครื่องเสียง  จำนวน  3 ครั้งๆละ 700  บาท เป็นเงิน 2,100  บาท         - ค่าอาหารกลางวันแก่ผู้เข้าร่วมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 3 ครั้งๆละ 50 คนๆ      ละ 50 บาท  เป็นเงิน  7,500  บาท                         
        - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มแก่ผู้เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 3 ครั้งๆละ        50 คนๆละ 25  บาท   เป็นเงิน  7,500  บาท                       .         - ค่าจัดทำสื่อเสียงตามสายในการให้ความรู้และแนวทางในการดูแลพฤติกรรมสุขภาพในด้านการดูแล      เฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  จำนวน  2  ชุดๆละ 100 บาท   เป็นเงิน           200  บาท         - ค่าวิทยากรกลุ่มในการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พฤติกรรมสุขภาพ ด้านดูแลเฝ้าระวังป้องกัน          โรคเบาหวานและความดันสูง จำนวน 3 ครั้งๆละ 2 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน               5,400     บาท         - ค่าเครื่องเจาะนำตาล  จำนวน 1 เครื่องๆละ  2,500  บาท   เป็นเงิน  2,500  บาท         - ค่าชุดเจาะเลือดและแถบตรวจน้ำตาล จำนวน 6 กล่องๆละ 690 บาท(1 กล่องบรรจุแถบตรวจ 25      ชิ้น) เป็นเงิน  4,140  บาท         - ค่าจัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักชนิดตัวเลข จำนวน 1 เครื่องๆละ 1,500  บาท  เป็นเงิน 1,500  บาท             รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  34,440  บาท(-สามหมื่นสี่พันสี่ร้อยสี่สิบบาทถ้วน-)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้น    ไปในหมู่บ้าน ได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น อย่างน้อยร้อยละ 80                                                                          .
        2. อัตราป่วยด้วยต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ                   35 ปีขึ้นไปในหมู่บ้าน มีอัตราป่วยลดลง
        3. เกิดระบบการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องในระบบชุมชน เกี่ยวกับการดูแลโรคเบาหวานและโรคความ      ดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
        4. เกิดระบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดัน    โลหิตสูงของ    ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป                               5. เกิดระบบเครือข่ายสุขภาพในการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระดับ
                     หมู่บ้าน/ตำบล
        6. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ        35 ปีขึ้นไปได้รับการวินิจฉัย ส่งต่อและรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน                 .
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
34440.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 34,440.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>