กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม แก่สตรี 30 - 60 ปีรพ.สต.บ้านฝาละมี ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา

รพ.สต.บ้านฝาละมี

หมู่ที่ ๒ , ๓ และหมู่ที่ ๑๑ตำบลหารเทา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายของทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งแต่ละปีจะมีผู้ป่วนโรคมะเร็งรายใหม่ประมาณ ๑๑ ล้านคนและตายจากโรคมะเร็ง ๗ ล้านคน โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกสามารถดูแลป้องกันรักษาได้ในระยะแรกการป้องที่ดีที่สุดคือการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด ดังนั้นการให้ความรู้ การสร้างความตระหนักการกระตุ้นให้เกิดการดูแลและการป้องกันตนเองในระยะแรกเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนลดอัตราป่วยและอัตราตายของสตรีจากโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมีปี พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ จำนวน ๘๘๕ ราย พบความผิดปกติที่ส่งพบแพทย์ จำนวน ๒ ราย สำหรับมะเร็งปากมดลูก พบความผิดปกติที่ไม่ใช่มะเร็ง จำนวน ๔๑๒ ราย และมีผู้เสียชีวิตจากการเป็นมะเร็งปากมดลูกจำนวน ๑ ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมีเห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรคโดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์มะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกขึ้นโดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองหาเซลล์มะเร็งปากมดลูก ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อรณรงค์ให้ความรู้มะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเป้าหมาย

สตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี จำนวน ๕๘๑ คน ตรวจเต้านมด้วยตนเอง และผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจาก  บุคลากรสาธารณสุข ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

465.00 465.00
2 ๒. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง

สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี จำนวน ๔๘๐ คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาเซลล์ ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน

385.00 385.00
3 ๓. เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูก/เต้านม ในระยะเริ่มแรกได้มากขึ้นและผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง ทันท่วงที

๓. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 668
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑. สำรวจข้อมูลกลุ่ม เป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปีที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา ๒.จัดทำทะเบียนสตรีอายุ 30-60 ปีที่ยังไม่เคยตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมาในเขตพื้นที่ หมู่ที่ ๒ , ๓ และหมู่ที่ ๑๑ ตำบลหารเทา ๓. ฝึกอบรม อสม.

ชื่อกิจกรรม
๑. สำรวจข้อมูลกลุ่ม เป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปีที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา ๒.จัดทำทะเบียนสตรีอายุ 30-60 ปีที่ยังไม่เคยตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมาในเขตพื้นที่ หมู่ที่ ๒ , ๓ และหมู่ที่ ๑๑ ตำบลหารเทา ๓. ฝึกอบรม อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 - ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่มสำหรับการอบรม แกนนำ อสม. ให้ความรู้เรื่อง และทักษะการตรวจมะเร็งเต้านม จำนวน ๖๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาทต่อมื้อจำนวน ๒ มื้อ เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวัน การอบรม แกนนำ อสม. ให้ความรู้เรื่อง และทักษะการตรวจม

ชื่อกิจกรรม
- ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่มสำหรับการอบรม แกนนำ อสม. ให้ความรู้เรื่อง และทักษะการตรวจมะเร็งเต้านม จำนวน ๖๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาทต่อมื้อจำนวน ๒ มื้อ เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวัน การอบรม แกนนำ อสม. ให้ความรู้เรื่อง และทักษะการตรวจม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าจัดซื้อโมเดลเต้านมจำนวน๓ ชุดๆ ละ ๓,๕๐๐บาทเป็นเงิน ๑๐,๕๐๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10500.00

กิจกรรมที่ 3 จัดหารวัสดุ และอุปกรณ์การตรวจคัดกรองมะเร้งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ชื่อกิจกรรม
จัดหารวัสดุ และอุปกรณ์การตรวจคัดกรองมะเร้งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

Speculum size S 5 อันๆละ 650 บาท เป็นเงิน 3,250 บาท Speculum size M 10 อันๆละ 750 เป็นเงิน 7,500บาท ขันแสตนเลสใส่เครื่องมือ ขนาด 16 ซม. 20 ใบๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท Forceps 20 คู่ๆละ 450 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท ผ้าห่อเซต ขนาด 22 x 22 นิ้ว 15 ผืนๆละ 95 บาท เป็นเงิน 1,425 บาท Sponge Forceps ขนาด 25 ซม. 2 อันๆละ 650 บาท เป็นเงิน 1,300บาท ผ้าถุงใช้สำหรับผลัดเปลี่ยนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ จำนวน 50 ผืนๆละ 140 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32475.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 42,975.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. สตรีอายุ ๓๐ - ๗๐ ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านม จากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน ๔๖๔ ราย
๒.สตรีอายุ ๓๐ -๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCellผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน ๓๘๕ ราย
๓. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย


>