กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตลาดสด ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค เทศบาลหารเทา ปี ๒๕๖๔

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา

เทศบาลตำบลหารเทา

ในเขตพิ้นที่ตำบลหารเทา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อาหารนับว่าเป็นปัจจัยหนึ่งซึ่งมีความสำคัญต่อสุขภาพของประชาชนและอาหารที่ประชาชนบริโภคนั้น ต้องปราศจากเชื้อโรค อาหารที่เป็นพิษหรือปนเปื้อนจากเชื้อโรค ดังนั้นกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดเป้าหมายที่จะมุ่งสร้างหลักประกันและ ความมั่นคงให้ประชาชนใส่ใจในสุขภาพบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยไร้สารพิษ ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนได้รับอาหารที่สะอาดและปลอดภัยตระหนักถึงอันตรายจากการที่บริโภคอาหารที่มีสารปนเปื้อน และให้ผู้ประกอบการร้านอาหารใส่ใจเรื่องสุขาภิบาลอาหาร เทศบาลตำบลหารเทาจึงได้จัดทำโครงการตลาดสดปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการตลาดสดและร้านอาหารใส่ใจสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลหารเทา ซึ่งเทศบาลตำบลหารเทามีหน้าที่รับผิดชอบด้านตลาดสด และเพื่อให้ตลาดสดเทศบาลตำบลหารเทาเป็นตลาดสดที่มีมาตรฐาน เป็นตลาดสดน่าซื้อ เพื่อผู้จำหน่ายสินค้าได้มีพื้นที่จำหน่ายสินค้า และจำหน่ายสินค้าเป็นหมวดหมู่ของประเภทสินค้าตามที่ทางเทศบาลกำหนด เพื่อแก้ปัญหาการวางสินค้าไม่เป็นระเบียบพร้อมปฏิบัติตัวในการจำหน่ายสินค้าได้อย่างต้องถูกตามหลักเกณฑ์ที่กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขกำหนดรวมถึงผู้จำหน่ายสินค้ามีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการพัฒนาตลาดสดและร่วมกันพัฒนาสถานที่จำหน่ายสินค้า การปฏิบัติตัวของผู้ค้าและผู้ช่วยได้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล พร้อมนำสินค้าที่มีคุณภาพ สะอาด ไร้สารปนเปื้อนมาจำหน่ายแก่ผู้บริโภค ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการตลาดสด รวมถึงแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ ๑ เพื่อลดความเสี่ยงจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด ซึ่งมีสาเหตุจากร้านจำหน่ายอาหารสดในตลาดสด

ตลาดสดเทศบาลตำบลหารเทาผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๕

0.00
2 เพื่อส่งเสริมการจัดบริการอาหารในตลาดให้ถูกสุขลักษณะ

อาหารสดปราศจากสารปนเปื้อน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการค้าขายในตลาดสดเทศบาลตำบลหารเทา

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการค้าขายในตลาดสดเทศบาลตำบลหารเทา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน ๕๐ คนๆละ ๒๕บาท จำนวน ๒ มื้อ = ๒,๕๐๐บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๐ คนๆละ ๘๐บาท =๔,๐๐๐บาท -ค่าวิทยากร จำนวน ๕ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐บาท.
= ๓,๐๐๐บาท ค่าป้ายโครงการฯ จำนวน ๑ ป้าย ขนาด ๑X๓เมตร= ๖๐๐บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10100.00

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสารปนเปื้อนในตัวอย่างอาหารสด ผัก ผลไม้และอาหารแห้งจากร้านค้าในตลาดสดเทศบาลตำบลหารเทา

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสารปนเปื้อนในตัวอย่างอาหารสด ผัก ผลไม้และอาหารแห้งจากร้านค้าในตลาดสดเทศบาลตำบลหารเทา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าตอบแทนผู้ตรวจสอบสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน ๓ คนๆละ ๓ ครั้งๆละ ๖๐๐.-บาท =๕,๔๐๐.-บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่นวัสดุตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ฯลฯ เป็นเงิน = ๕,๐๐๐บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนสามารถลดความเสี่ยงจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด ซึ่งมีสาเหตุจากร้านจำหน่ายอาหารไม่สะอาดในตลาดสด
2. ประชาชนได้จับจ่ายสินค้าในสถานที่สะอาด ได้มาตรฐาน และซื้อสินค้าที่มีความปลอดภัยและได้รับการคุ้มครองสิทธิ/สุขภาพผู้บริโภค
๓. ผู้จำหน่ายมีการปรับปรุงแผงจำหน่ายให้ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐาน


>