2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
การดูแลและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ถือเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พิการ อย่างยั่งยืน โดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม เนื่องจากภาวะเสื่อมทางร่างกายของและความพิการจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ทำให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติทั่วไป และมักจะไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางสาธารณสุข ส่งผลให้ขาดการดูแล รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม มีผลต่อคุณภาพชีวิตที่ลดลงรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล
จากผลการดำเนินงานผู้พิการที่ผ่านมาในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลหารเทา ทำให้ทราบถึงปัญหาของในการเข้าถึงบริการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพ และขาดการรับทราบข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการสำรวจพบว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลหารเทา มีปัญหาด้านสุขภาพและมีวิธีดูแลสุขภาพของตนเองและของครอบครัวยังไม่ดีเท่ที่ควร ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญได้แก่ การเจ็บป่วยเล็กๆน้อย เช่นโรคไข้หวัด ปวดศรีษะ ปวดขา โรคกระเพาะ ปัญหาโรคติดต่อ และปัยหารสุขภาพจิต ึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาสุขภาพที่มีผลกระทบต่อครอบครัวในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่าย และด้านจิตใจ ซึ่งวิธีการดูแลสุขภาพของครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย พบว่าครอบครัวส่วนใหญ่จะทราบวิธีการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ดี นอกจากนี้ ยังมีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง เช่นการดูแลฟื้นฟูผู้พิการเพื่อลดปัญหาแผลกดทับ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น ทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้องนี้อาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากขึ้นทั้งๆที่สามารถป้องกันหรือรักษาได้ๆ ด้วยเหตุนี้ หากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนสามารถดูแลผู้พิการได้มีระบบการเฝ้าระวังดูแลปัญหาสุขภาพของผู้พิการ เพื่อลดอันตรายหรือเพื่อลดอันตรายหรือเพิ่มลดความพิการที่อาจเกิดขึ้น เขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลหารเทา มีผู้พิการทั้งหมด 334 คนซึ่งพบว่ายังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่มีการบริการด้่านต่างๆยังเข้าไปไม่ถึง แต่เนื่องจากยังคงมีองค์กรต่างๆในชุมชนอีกมากมาย หากมีการพัฒนาศักยภาพให้สามารถดูแลผู้พิการในชุมชนได้ จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสูดต่อผู้พิการในชุมชม ดังนั้นทางเทศบาลตำบลหารเทา เล็งเห็นความสำคัญต่อสุขภาพผู้พิการรวมทั้งผลกระทบที่จะตามมา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 15/11/2020
กำหนดเสร็จ 31/08/2021
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ผู้พิการได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากทางญาติ และจิตอาสา
2. ผู้พิการมีสุขภาพทางกายทางจิตไม่ดีขึ้น
3.ลดปัญหาผู้พิการเกิดภาวะแทรกซ้อน (พิการซ้ำซ้อน)