กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ เด็ก ช.ช.ส. ร่วมใจป้องกัน และลดอุบัติภัยในโรงเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส

โรงเรียนชุมชนวัดเชิงแส

โรงเรียนชุมชนวัดเชิงแส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยในภาวะปัจจุบันนี้มีเหตุการณ์ หรือภาวะที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด ไม่ตั้งใจ เป็นผลให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน เป็นอันตรายแก่ร่างกายและจิตใจและอาจทำให้สูญเสียชีวิตได้ จึงได้มีการจัดทำโครงการ เด็กช.ช.ส.ร่วมใจป้องกันและลดอุบัติภัยในโรงเรียนขึ้น เพื่อเป็นการให้ความรู้แก่บุคลากรและนักเรียน การเข้าใจกฏจราจร ตลอดจนมีการตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ให้มีความปลอดภัย ทางโรงเรียนชุมชนวัดเชิงแส จึงได้จัดทำโครงการเด็ก ช.ช.ส.ร่วมใจป้องกันและลดอุบัติภัยในโรงเรียนขึ้น โดยมุ่งหวังให้นักเรียน กลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน บนท้องถนน รวมทั้งการเคารพกฎจราจร

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนเกิดความรุ้ความตระหนัก ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร มารยาทในการขับขี่และรู้จักวิธีป้องกันตนเองขณะขับขี่ยานพาหนะ และนำความรุ้ไปบอกต่อยังผู้ปกครอง

นักเรียนและผุ้ปกครองร้อยละ 80 ตระหนักและปฏิบัติตามกฎจราจรเบื้องต้นในการขับขี่เพื่อความปลอดภัย

10.00 1.00
2 เพื่อให้นักเรียน รู้จักวิธีการป้องกันอติเหตุต่างๆ ที่เกิดขึ้น และรู้วิธีตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ให้มีความปลอดภัย

นักเรียน และผู้ปกครอง ร้อยละ 80 รู้จักวิธีการป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น และรู้วิธีการตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ให้มีความปลอดภัย

1.00
3 ลดการเกิดอุบัติเหตุทางร่างกายทางสมอง ป้องกันการเจ็บป่วยจากอุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์และรถยนต์

อัตราการเกิดอุบัติเหตุทางร่างกายและทางสมองของนักเรียนและผู้ปกครองจากการเกิดอุบัติเหตุนท้องถินนลดลง

1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้/สร้างความตระหนักในการป้องกันและลดอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียนในโรงเรียน และผู้ปกครอง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้/สร้างความตระหนักในการป้องกันและลดอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียนในโรงเรียน และผู้ปกครอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมชี้แจงโครงการ/วางแผน
  2. แต่งตั้งคณะทำงาน
  3. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส
  4. จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการให้นักเรียน และผู้ปกครอง จำนวน 100คน
    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน100 คน ๆ ละ 50 บาทเป็นเงิน 5,000บาท
      5.ประเมินผลสรุปและรายงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความรู้ตระหนักความเข้าใจเกี่ยกับกฎหมายจราจร มารยาทในการขับขี่และรู้จักวิธีการป้องกันตนเอง ขณะขับขี่ยานพาหนะ
2.นักเรียน และผุ้ปกครองรู้จักวิธีการป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น และรู้จักวิธีการตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือ ต่างๆ ให้มีความปลอดภัย
3. นักเรียน และผู้ปกครองเกิดอุบัติเหตุทางร่างกาย ทางสมอง จากอุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์ และรถยนต์ลดลง และป้องกันการเจ็บป่วยจากการเกิดอุบัติเหตุได้ดีขึ้น


>