กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเดา

1.นางจินดาพร แซ่เฉีย
2.นางสมยา หวังจิ
3.นางอภิญญา มีชัยชนะ
4.นายจุมพล แซ่อึ่ง
5.นายสุเมธ ศศิธร

ภายในเขตเทศบาลเมืองสะเดา และพื้นที่เชื่อมต่อที่ใกล้เคียง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันภัยคุกคามต่อสุขภาพอันเนื่องมาจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติเกิดขึ้นได้เสมอโดยสามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ เช่น โรคติดเชื้อชนิดใหม่ โรคติดเชื้อกลายพันธุ์ โรคติดเชื้อที่พบในพื้นที่ใหม่รวมทั้งภัยพิบัติซ้ำ ซึ่งเป็นโรคที่เกิดขึ้นในอดีตและสงบไปแล้วกลับมาระบาดใหม่เนื่องจากยุคโลกาภิวัฒน์ ซึ่งมีปัจจัยมากมายในการส่งเสริมหรือเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ และมีการระบาดอย่างรวดเร็ว เช่น การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและพฤติกรรม ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี การรบกวนธรรมชาติและระบบนิเวศ การเดินทางที่สะดวกรวดเร็วเหล่านี้มีส่วนในการทำให้เกิดโรคอุบัติใหม่ และโรคอุบัติซ้ำมากมาย จากปัญหาดังกล่าวนอกจากเป็นภัยต่อสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจการเมือง ทำให้เกิดความโกลาหลของประชาชนพื้นที่เกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ในการเฝ้าระวังป้องกัน และแก้ไขปัญหาจำเป็นต้องเตรียมการในเรื่องดังกล่าวให้ทันต่อเหตุการณ์หรือสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น แต่เนื่องจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ จึงจำเป็นจะต้องจัดเตรียมงบประมาณ บุคลากร และเครื่องมือ เพื่อใช้ในการดำเนินงานดังกล่าว ถ้าหากมีความจำเป็นในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหา

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้สามารถดำเนินการ/สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ

ให้สามารถดำเนินการ/สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ค่าอาหารเครื่องดื่มและอาว่าง

ชื่อกิจกรรม
ค่าอาหารเครื่องดื่มและอาว่าง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารเครื่องดื่มและอาหารว่าง สำหรับทีมเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรค และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื้อใช้ในการประชุม กำหนดแผนปฏิบัติการ รวมทั้งการเฝ้าระวัง ติดตามกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ จำนวน 30,000.-บาท (สามหมื่นบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30000.00

กิจกรรมที่ 2 ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหา

ชื่อกิจกรรม
ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหา เช่น สารเคมีฆ่าเชื้อ ฯลฯ เครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการป้องกันการติดโรคของเจ้าหน้าที่ เป็นต้น จำนวน 70,000.-บาท (เจ็ดหมื่นบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
70000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 100,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนในพื้นที่ระบาดหรือภัยพิบัติสามารถรู้จักป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้อย่าวถูกต้อง
2.ลดอัตราการป่วยหรือตายจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติ


>