กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชัยวารี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

To Be Number One ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษาโรงเรียนเมืองโพธิ์ชัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชัยวารี

ชมรมTo Be Number One โรงเรียนเมืองโพธิ์ชัย

1. นาายยศราวุธ บุระพวง ผอ.โรงเรียนเมืองโพธิ์ชัย
2. นางลำเพียร นาคะเมฆ
3. นายวุฒิกรณ์ ชูศรีทอง
4. นางสาวมะลิลาทาพรมมา
5. นางสาวอรอุมาแก้วกาหลง

โรงเรียนเมืองโพธิ์ชัย และชุมชนในเขตพื้นที่บริการโรงเรียนเมืองโพธิ์ชัย อำเภอโพธิ์ชัยจังหวัดร้อยเอ็ด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

นโยบายของรัฐบาลปัจจุบันให้ความสำคัญต่อเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้มาก โดยได้มีนโยบายฟื้นฟูค่านิยมในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุ้งเน้นการจัดระเบียบปัจจัยเสี่ยง เช่น สถานบันเทิง/สถานบริการ ร้านเกม ร้านอินเตอร์เน็ต โต๊ะสนุ๊กเกอร์เป็นต้น รวมทั้งเสริมปัจจัยบวกสำหรับเยาวชน การพัฒนาเยาวชน เพิ่มกิจกรรมสร้างสรรค์เยาวชน เช่น การประกวดกิจกรรม การสงเสริมสุนทรียศาสตร์ต่างๆ การเล่นดนตรี การเล่นกีฬา การอบรมพัฒนาคุณธรรม ครองครัวสัมพันธ์ การสร้างเครือข่ายเยาวชนฯลฯ
ฉะนั้น เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรม To Be Number One ของโรงเรียนเมืองโพธิ์ชัยให้เข็มแข็ง จึงได้จัดทำโครงการ To Be Number One ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อรณรงค์ป้องกันยายเสพติด แก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มนักเรียน

 

300.00
2 เพื่อสนับสนุนให้เยาวชนในชุมชน โรงเรียนและสถานประกอบการจัดกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์

 

0.00
3 เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาทักษะในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2020

กำหนดเสร็จ 31/03/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เพื่อสกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในชุมชน โดยการคัดกรองและปรับพฤติกรรม ที่เน้นสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
เพื่อสกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในชุมชน โดยการคัดกรองและปรับพฤติกรรม ที่เน้นสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การจัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้างสมรรถนะแห่งตน/ทักษะชีวิตในการหลีกเลี่ยงสิ่งยั่วยุ /ทักษะการจัดการความเครียดและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเห็นคุณค่าแห่งตน/การใช้เวลาว่าง/การสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน 1. ขั้นเตรียมการ
    1.1 ประชุมวางแผน     1.2 วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหาความจำเป็น     1.3 หาแนวทางแก้ไข 2. ขั้นดำเนินการ     2.1 จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ     2.2 แต่งตั้ง/ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ     2.3 จัดเตรียมห้อง สถานที่ การจัดการเรียนรู้และกิจกรรม 3. จัดกิจกรรมตามโครงการ     3.1 กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด 4. ขั้นประเมิน     4.1 จากแบบสอบถาม     4.2 จากการสังเกตพฤติกรรม     4.3 จากการซักถาม สอบถาม 5. รายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนมีภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด 2.นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพและคุณภาพให้เป็นคนรุ่นใหม่ที่เชื่อมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง 3.นักเรียนได้ร่วมกิจกรรมสร้างสรรค์โดยการสนับสนุนของสังคม 4.นักเรียนเข้าใจและยอมรับผู้มีปัญหายาเสพติดโดยให้โอกาสกลับมาเป็นคนดีของสังคม 5.นักเรียนผู้ปกครองและชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนมีภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด
2.นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพและคุณภาพให้เป็นคนรุ่นใหม่ที่เชื่อมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง
3.นักเรียนได้ร่วมกิจกรรมสร้างสรรค์โดยการสนับสนุนของสังคม
4.นักเรียนเข้าใจและยอมรับผู้มีปัญหายาเสพติดโดยให้โอกาสกลับมาเป็นคนดีของสังคม
5.นักเรียนผู้ปกครองและชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด


>