กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ป้องกันโรค มือ เท้า ปาก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลยาบาล

นางนอรอไอนิงสะแลแมโทร. 089-9789199
นางสาวติปือตียะดือเลาะโทร.0831947007
นางสาวไซนีมะ
นางรอกีเยาะเตาะสาตู

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลยาบาล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กอายุ 2-6 ปี มีภาวะเป็นโรคมือ เท้า ปาก

 

1.00
2 จำนวนผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ในป้องกันโรค มือ เท้า ปาก

 

54.00

โรคมือเท้าปากเป็นโรคที่พบได้บ่อยในเด็กเล็ก โดยเฉพาะในสถานที่ที่อยู่ร่วมกันอย่างแออัด อย่างเช่นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทำให้เกิดการระบาดของโรคได้มากขึ้น ทางศูนย์ฯได้จัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อป้องกันและลดการระบาดของโรคมือ เท้า ปากต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันปัญหาโรคมือ เท้า ปากในเด็กก่อนวัยเรียน

จำนวนเด็กที่เกิดโรค มือ เท้า ปาก

1.00 0.00
2 เพื่อลดปัญหาสุขภาพในเด็ก

จำนวนเด็กที่เกิดโรค มือ เท้า ปาก

1.00 0.00
3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก สามารถดูแลรักษาความสะอาดเด็กและตนเองถูกต้อง

จำนวนผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ในการป้องกันโรค มือ เท้า ปาก

54.00 5.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 59
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 59
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/05/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประเมินและคัดกรองภาวะโรค มือ เท้า ปาก ก่อนแหลังดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินและคัดกรองภาวะโรค มือ เท้า ปาก ก่อนแหลังดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คุณครูตรวจสุขภาพเด็กก่อนเข้าห้องเรียนในวันแรกของการเรียนการสอนจนถึงวันสุดท้ายของการเรียนการสอน

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ข้อมูลจากการตรวจสุขภาพประจำวัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 โครงการ อบรมผูัปกครองเรื่องการป้องกันโรค มือ เท้า ปาก

ชื่อกิจกรรม
โครงการ อบรมผูัปกครองเรื่องการป้องกันโรค มือ เท้า ปาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 126 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน6,300บาท 2 -ค่าอาหารกลางวัน 126 คนๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 6,300บาท 3 -ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน3,600บาท 4 -ค่าวัสดุประกอบกิจกรรม
- เจลล้างมือ ขนาด400 มล. 5 ขวดๆละ 150 บาท เป็นเงิน 750 บาท - เจลล้างมือ ขนาด50 มล. 59 ขวดๆละ 30 บาท เป็นเงิน2,950บาท - น้ำยาฆ่าเชื้อขนาด 1,200 มล. 5 ขวดๆละ 166 บาทเป็นเงิน 830บาท 6 -ค่าไวนิลโครงการเป็นเงิน750บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้ปกครองได้รับข้อมูลการป้องกันโรค มือ เท้า ปาก 2.เกิดแนวทางร่วมการแก้ปัญหาจากผู้ปกครอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21480.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,480.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กนักเรียนมีปัญหาสุขภาพน้อยลง
2. ป้องกันการระบาดโรคมือเท้าปาก
3. ผู้ปกครองและครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดของเด็กและตนเองมากขึ้น


>