กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย
กลุ่มคน
1. นายมะกอเซ็งเจะแต
2. นายสมภพสุวรรณชมภู
3. นางสาวแวนูรไอนีย์แวบือราเฮ็ง
4. นางสาวนูรฮายาตีมัณฑนาพร
5. นางสาวปาตีเมาะดือราแมหะยี
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในเด็กนักเรียนและปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้นนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้วยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็กนักเรียนประถมศึกษาซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึก ทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานอาหารรสหวานตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายหากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอโรคในช่องปากที่พบบ่อยในเด็กนักเรียน ได้แก่ โรคฟันผุ และโรคเหงือกอักเสบโรคฟันผุเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยใช้มาตรการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ เช่น การใช้ฟลูออไรด์ การใช้สารเคลือบหลุมร่องฟันการแปรงฟันที่มีคุณภาพเป็นต้น หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็กโดยการฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดี การส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคฟันผุของเด็กได้แต่สภาพสังคมเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปส่งผลให้แบบแผนการดำรงชีวิตของประชาชนเปลี่ยนไปด้วยทำให้พ่อแม่จำนวนมากต้องทำงานเลี้ยงชีพเป็นหลักหรือมีเวลาเลี้ยงดูลูกน้อยลงนอกจากนี้การพัฒนาการของโฆษณาขนมที่มีรสหวานซึ่งมีการผลิตในรูปแบบที่หลากหลาย ความเจริญทางการโฆษณามากขึ้นส่งผลให้มีการบริโภคขนมหวานซึ่งมีส่วนประกอบของแป้งและน้ำตาลสูง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคฟันผุง่ายขึ้น จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 8 (สำนักทันตสาธารณสุข,กรมอนามัย,2560) โดยในภาพรวมประเทศ พบว่าเด็กอายุ 12 ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 31.5ภาคใต้เด็กอายุ 12 ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 29.5จากข้อมูลในระบบสารสนเทศ HDC จังหวัดปัตตานีปี 2563 เด็กอายุ 12 ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 39.71และตำบลปุโละปุโยเด็กอายุ 12 ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 29.91
จากการสำรวจสภาวะการเกิดโรคฟันผุในตำบลปุโละปุโย ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ57.1429.58และ 29.91 ตามลำดับแม้ว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุในพื้นที่ตำบลปุโละปุโยจะลดลงตามลำดับก็ตาม แต่เมื่อเทียบกับอัตราการเกิดโรคฟันผุในระดับภาคใต้ยังอยู่ในเกณฑ์ที่อัตราฟันผุไม่ได้แตกต่างมากนักอันเนื่องมาจากการแปรงฟันที่ไม่มีประสิทธิภาพความไม่ครอบคลุมในการดำเนินกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันและตอนเช้า (ดำเนินการบางชั้น/บางคน จากการสุ่มสำรวจโรงเรียน 4 แห่ง ใน 7 แห่งของโรงเรียนทั้งหมดในตำบล) จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25ขาดการดูแลเอาใจใส่ของผู้ปกครองในเรื่องทันตสุขภาพ และการบริโภคอาหารหวานของเด็กนักเรียนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ากูโบได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียนตำบลปุโละปุโย ปีงบประมาณ 2564” เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ทัศนคติ และการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีซึ่งจะเป็นปัจจัยที่จะสนับสนุนให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากที่สะอาด ข้อที่ 2เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ข้อที่ 3ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากที่สะอาด ร้อยละ 80 2. เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ 80 3. ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพ
    รายละเอียด
    1. อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพครูประจำชั้น/ครูอนามัยโรงเรียน นักเรียนชั้นอนุบาล 1-3 และประถมศึกษาปีที่ 1-6จำนวน 544 คน (5 แห่ง)

    - ค่าป้ายโครงการ
    ขนาด 1.๒ x ๓เมตร จำนวน1 ป้าย เป็นเงิน ๗๒0 บาท ค่าสมนาคุณวิทยากร 3 คน รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 15,300 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน อัตราชั่วโมงละ 300 บาท จำนวน 1 ชั่วโมง จำนวน 26 วัน รวมเป็นเงิน 7,800 บาท
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน อัตราชั่วโมงละ 300 บาท จำนวน 1 ชั่วโมง จำนวน 12 วัน รวมเป็นเงิน 3,600 บาท
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน อัตราชั่วโมงละ 300 บาท จำนวน 1 ชั่วโมง จำนวน 13 วัน รวมเป็นเงิน 3,900 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 16,020 บาท 2. อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพผู้ปกครองนักเรียนชั้นอนุบาล 1-3ประถมศึกษาปีที่ 1-6จำนวน 544 คน (5 แห่ง) ได้แก่ ร.ร.บ้านน้ำดำร.ร.บ้านค่ายร.ร.บ้านกาหยีร.ร.พัฒนศึกษา และร.ร.พระราชดำริศูนย์ครูใต้
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน อัตราชั่วโมงละ 300 บาท จำนวน 6 ชั่วโมง จำนวน 5 วัน รวมเป็นเงิน 9,000 บาท - ค่าอาหารมื้อเที่ยงพร้อมน้ำ
    ผู้เข้าร่วม จำนวน 544 คน อัตรามื้อละ50 บาท 1 มื้อ จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 27,200 บาท - ค่าอาหารว่าง
    ผู้เข้าร่วม จำนวน 544 คน อัตรามื้อละ 25 บาท 2 มื้อ จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 27,200 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม จำนวน 2รายการ เป็นเงิน 180 บาท ได้แก่ - กระดาษA4 1รีม อัตรา 110 บาท - ปากกา 1 กระปุก อัตรา70 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 63,580 บาท

    งบประมาณ 79,600.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ร.ร.บ้านน้ำดำร.ร.บ้านค่ายร.ร.บ้านกาหยีร.ร.พัฒนศึกษา และร.ร.พระราชดำริศูนย์ครูใต้

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 79,600.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากที่สะอาด
  2. เด็กนักเรียนแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ ความตระหนักและมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 79,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................