กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการวัยใส ใส่ใจกินผักรักสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

โรงเรียนวัดพิกุลทอง

1. นายประสิทธิ์ กิตตินนทิกร
2. นางเสาวนีย์ ชัยฤกษ์
3. นายไพโรจน์ แก้วเกื้อ
4. นายธีระยุทธ เสนาทับ
5. นางพรทิพย์ เสนาทับ

โรงเรียนวัดพิกุลทอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กอายุตั้งแต่ 5 - 12 ปี ที่ไม่กินผัก

 

185.00
2 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

 

30.00
3 ร้อยละของเด็กอายุตั้งแต่ 5 - 12 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

185.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

เด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง ลดลงจำนวน 20 คน

30.00 20.00
2 เพื่อเพิ่มเด็ก 5-12 ปี กินผักเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 400 กรัมต่อวัน

จำนวนเด็ก 5-12 ปี ที่กินผักเพิ่มขึ้น (คน)

185.00 60.00
3 เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายในเด็กวัยเรียน

เด็กวัยเรียนมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

185.00 185.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 185
กลุ่มวัยทำงาน 185
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/06/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง นักเรียนเกี่ยวกับประโยชน์ของการรับประทานผัก วิธีการเลือกผักที่ปลอดสารพิษ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง นักเรียนเกี่ยวกับประโยชน์ของการรับประทานผัก วิธีการเลือกผักที่ปลอดสารพิษ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่าย: 1. ค่าไวนิลขนาด 1.2 x 2.4 เมตรเป็นเงิน 1,000 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน6 ชั่วโมง ๆ ละ 600บาทเป็นเงิน 3,600 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน370 คน ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 9,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
29 มีนาคม 2564 ถึง 29 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองและนักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13850.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยทำแปลงผักของนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยทำแปลงผักของนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยทำแปลงผักของนักเรียน
ค่าใช้จ่าย:
1. ซื้ออุปกรณ์ในการทำแปลงผัก เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าปุ๋ยคอก จำนวนเงิน 500บาท
3. สายยางยาว 30เมตร จำนวนเงิน 300บาท
4. ค่าไม้ทำชั้นวางก้อนเห็ดนางฟ้า จำนวนเงิน 500บาท
5. ค่าก้อนเห็ดนางฟ้า 100 ก้อนจำนวนเงิน5,000บาท 6. ค่าจากมุงหลังคาโรงเรือน จำนวนเงิน 1,500บาท
7. ค่าเมล็ดพันธุ์ผัก จำนวนเงิน 200บาท
รวมเป็นเงิน10,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผักอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน
ได้อุปกรณ์สำหรับการทำแปลงผัก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 3 การนำผลผลิตมาใช้ในการทำอาหารกลางวัน

ชื่อกิจกรรม
การนำผลผลิตมาใช้ในการทำอาหารกลางวัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่มีงบประมาณนำผลผลิตที่ปลูกมาแปรรูปอาหาร

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนนำผักปลอดสารพิษไปประกอบอาหาร เมนูแกงจืด ผัดผักรวม ในมื้ออาหารกลางวัน และนำไปประกอบอาหารที่บ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามผลการบริโภคผัก

ชื่อกิจกรรม
ติดตามผลการบริโภคผัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำแบบประมินติดตามการกินผักของนักเรียนในแต่ละวัน และสรุปผล
ไม่มีงบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ติดตามผลการรับประทานผักใน1วัน โดยในแต่ละวันให้นักเรียนรับประทานผักปริมาณ400กรัม/วัน(คิดเป็น 4-6 ทัพพี)โรงเรียนนำมาประกอบอาหารสัปดาห์ละ2วันและในนักเรียนนำผักไปรับประทานที่บ้านทุกวัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กชอบที่จะรับประทานผักมากขึ้น ทำให้มีสุขภาพร้างกายแข็งแรง
2. ผู้ปกครองรู้จักเลือกผัก ที่ปลอดสารพิษให้แก่บุตรหลานและรู้ถึงประโยชน์ของการรับประทานผัก
3. เด็กได้รับประทานผักที่ปลอดภัย มีประโยชน์และได้รับอาหารครบทั้ง 5 หมู่


>