กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด รหัส กปท. L7577

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเด็กปลอดภัยเมื่อติดในรถ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด
กลุ่มคน
1. นางสาวเพ็ญพิชชานวลสนอง
2. นางสาวจิราภารุ่งเรือง
3. นางสายพินขุนจันทร์
4. นางจารุทิพย์ฤทธิเดช
5. นางสาวอัญชลีศรีสงคราม
3.
หลักการและเหตุผล

อ้างถึงหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.4/ว 5048 ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2563 หนังสือจังหวัดพัทลุง ด่วนที่สุด ที่ พท 0023.3/ว 5233 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2563 และหนังสือเทศบาลตำบลตะโหมด ที่ พท 52704/ ลงวันที่ 2 กันยายน 2563 ตามที่เทศบาลตำบลตะโหมดได้แจ้งจังหวัดพัทลุงได้ขอความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่งให้ดำเนินการจัดกิจกรรมซักซ้อมแนวทางการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในการรับ - ส่งเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่ง ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการเพื่อป้องกันและดูแลความปลอดภัยในการรับ - ส่งเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายละเอียดตามหนังสือที่อ้างถึง นั้นกระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อให้ทางการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในการรับ - ส่งเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงขอความร่วมมือจังหวัดแจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่ง ดำเนินการจัดกิจกรรมซักซ้อมแนวทางการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในการรับ – ส่งเด็กนักเรียน ในช่วงอาทิตย์แรกของการเปิดภาคเรียน ในทุกภาคเรียน โดยกิจกรรมดังกล่าว ประกอบด้วย 1. การตรวจนับจำนวนเด็กนักเรียนที่ขึ้นรถและลงรถรับ - ส่ง เพื่อป้องกันกรณีการลืมเด็กนักเรียนไว้ในรถรับ - ส่ง 2. การขอความช่วยเหลือเบื้องต้น เพื่อเด็กนักเรียนสามารถมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองในกรณีที่ติดอยู่ในรถรับ - ส่ง เช่นการกดแตรสัญญาณในรถ และวิธีการเปิดประตูรถหรือเปิดกระจกรถ เป็นต้น 3. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่ประสบเหตุได้ในเบื้องต้น ก่อนนำเด็กส่งโรงพยาบาล ด้วยสาเหตุดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดเล็งเห็นว่าควรให้ความรู้แก่เด็กปฐมวัยในสังกัด เพื่อที่เด็กจะได้ช่วยเหลือตนเองเมื่อติดอยู่ในรถยนต์ อีกทั้งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุสลดจนมีความสูญเสียขึ้นอีก แม้นว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดจะไม่มีการให้บริการรถรับ - ส่งเด็ก แต่เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว จึงต้องป้องกันก่อนจะเกิดเหตุ โดยสอนให้เด็กได้เรียนรู้ระบบการทำงานของรถยนต์เท่าที่จำเป็น เฉพาะเพื่อเอาตัวรอด ประกอบด้วย แนะนำเกี่ยวกับระบบเซ็นทรัลล็อคของรถยนต์ แนะนำเกี่ยวกับการลดกระจก การใช้สัญญาณไฟฉุกเฉิน การใช้แตร และปลูกฝังให้เด็กมีน้ำใจรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น แนะนำให้เด็กมีความพยายามในการที่จะช่วยตนเองมีความอดทนในการกดแตรรถ จนกว่าจะมีคนมาช่วยเปิดประตูรถให้ และให้เด็กลองปฏิบัติจริง พร้อมกันนั้นเป็นการสร้างองค์ความรู้ให้แก่ผู้ปกครอง,บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเรื่องดังกล่าว เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบเหตุได้ในเบื้องต้น ก่อนนำเด็กส่งโรงพยาบาลได้ และให้ทุกคนมีสติมีความรอบคอบมีความรับผิดชอบในความปลอดภัยของเด็กอยู่ตลอด

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้การเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อติดอยู่ในรถยนต์
    ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% สามารถเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งได้อย่างปลอดภัยเมื่อติดอยู่ในรถยนต์ และมีจิตใจที่ดีมีความห่วงใยผู้อื่น
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 2.00
  • 2. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีให้แก่เด็ก
    ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน้ำใจช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เกิดเป็นความรัก ความสามัคคี
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 2.00
  • 3. เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และสามารถทำการการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐานได้
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง, บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และสามารถทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐานได้
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 2.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
    รายละเอียด

    อบรมให้ความรู้เรื่องเด็กปลอดภัยเมื่อติดในรถ แก่เด็ก,ผู้ปกครอง,บุคลากร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดจำนวน268คน (ทั้งหมด) โดยจัดเป็นฐาน 3 ฐาน ฐานที่1 ให้ทุกคนทราบถึงเหตุและผลของการเกิดอุบัติเหตุเรื่องเด็กติดในรถ (ฐานเหตุเกิดเพราะ..!..) ฐานที่2 ให้ทุกคนได้ลงมือปฏิบัติกับรถจริง (ฐานทำยังไงดีนะ) ฐานที่3 ให้ทุกคนได้ฝึกการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน เน้นคุณครูและผู้ปกครอง (ฐานสุดชีวิต) โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 3ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน1,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (128 คน ×1 มือ×25 บาท)เป็นเงิน3,200บาท

    งบประมาณ 5,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 28 พฤษภาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 5,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดสามารถเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งได้อย่างปลอดภัยเมื่อติดอยู่ในรถยนต์
  2. เด็กมีจิตสำนึกที่ดี รู้จักห่วงใยผู้อื่น
  3. ผู้ปกครอง,บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบเหตุในเบื้องต้น ก่อนนำส่งโรงพยาบาลได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด รหัส กปท. L7577

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด รหัส กปท. L7577

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 5,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................