กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ และการพัฒนาระบบบริหารจัดการ ประจำปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ

ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะได้ดำเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการอื่น รวมทั้งสถานบริการทางเลือกในพื้นที่โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพตามประเภท และขอบเขตของบริการสาธารณสุขที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด โดยสนับสนุนค่าใช้จ่ายให้กลุ่มประชาชนหรือองค์กรประชาชนในพื้นที่เพื่อจัดทำกิจกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคหรือการฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่
การบริหารกองทุน การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและการพัฒนาระบบบริหารจัดการนั้น จำเป็นจะต้องมีงบประมาณสนับสนุน เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการหรือการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ หรือคณะทำงานอื่น ๆ ที่กรรมการกองทุนแต่งตั้งให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงการจัดซื้อครุภัณฑ์ที่สนับสนุนการดำเนินงานโดยตรง ทั้งนี้งบประมาณดำเนินการต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ของรายรับของปีงบประมาณนั้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

0.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพ

0.00
3 เพื่อให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

การประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

0.00
4 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

กลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ

0.00
5 เพื่อส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลให้มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลมีการบริหารจัดการกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 35

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 1

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา จำนวน 21 คน คนละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 10 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 3. ค่าตอบแทนคณะทำงาน จำนวน 4 คน คนละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 875 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13075.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา จำนวน 21 คน คนละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 10 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 3. ค่าตอบแทนคณะทำงาน จำนวน 4 คน คนละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 875 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13075.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 3

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 3
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา จำนวน 21 คน คนละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 10 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 3. ค่าตอบแทนคณะทำงาน จำนวน 4 คน คนละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 875 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13075.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 4

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 4
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา จำนวน 21 คน คนละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 10 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 3. ค่าตอบแทนคณะทำงาน จำนวน 4 คน คนละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 875 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13075.00

กิจกรรมที่ 5 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน

ชื่อกิจกรรม
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะชดเชยค่าน้ำมัน และค่าที่พักเป็นต้น

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 ตุลาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2500.00

กิจกรรมที่ 6 ค่าจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
ค่าจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์ สำหรับการบริหารจัดการกองทุน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 ตุลาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 7 ฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และกลุ่มผู้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และกลุ่มผู้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่าย 1. ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 70 คน คนละ 80 บาท วันละ 1 มื้อ จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 11,200 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน คนละ 35 บาท วันละ 2 มื้อ จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 9,800 บาท 3. ค่าจัดซื้อวัสดุพร้อมเอกสารสำหรับการฝึกอบรม จำนวน 70 ชุด ชุดละ 110 บาท เป็นเงิน 7,700 บาท 4. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชม. ชม. ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 5. ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.5*3 เมตร เมตรละ 300 บาท เป็นเงิน 1,350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และกลุ่มผู้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
33650.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 92,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
2. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ
3. การประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
4. กลุ่มประชาชน ชมรม และหน่วยงานภายนอกได้รับงบประมาณสนับสนุนเพื่อการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
5. กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล มีการบริหารจัดการกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ


>