กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนากาย พัฒนาจิต บั้นปลายชีวิตมีความสุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและส่งเสริมอาชีพตำบลคลองขุด

1. นางประไพ อุบลพงษ์ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและส่งเสริมอาชีพตำบลคลองขุด
2. นายสุนทร พุทธรักษ์
3. นายมะหนับ หมัดตาหมัน
4. นายเจริญ บัณฑิตย์
5. นายผิน น้อยดำ

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและส่งเสริมอาชีพตำบลคลองขุด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง

 

50.00
2 ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

 

40.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

40.00 80.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง

ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง

50.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2020

กำหนดเสร็จ 31/01/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่สมาชิก 2.เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ในการดำเนินโครงการ 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ     3.1 การดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ด้วยความสุข 5 มิติ           - สุขสบาย การดูแลสุขภาพร่างกายให้มีสรรถภาพร่างกายที่คล่องแคล่ว (การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย, กินอย่างไรให้มีประโยชน์ อาหารจานโปรดสำหรับผู้สูงอายุ)           - สุขสนุก การเลือกวิถีชีวิตที่รื่นรมย์สนุกสาน กิจกรรมสันทนาการต่าง ๆ
          - สุขสง่า ความรู้สึกพึงพอใจในชีวิต ความภาคภูมิใจในตนเอง           - สุขสว่าง การคิดอย่างมีเหตุผล ความจำ           - สุขสงบ ความสามารถในการรับรู้และเข้าใจในความรู้สึกของตนเอง การควบคุมอารมณ์
3.สรุปและประเมินผลโครงการ พร้อมรายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต 1.  ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง ร้อยละ 80 2.  ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ร้อยละ 100 ผลลัพธ์     ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง มีสมรรถภาพทางร่างกายที่แข็งแรง จิตใจแจ่มใสเบิกบาน มีอายุยืนยาว สามารถช่วยเหลือตัวเองได้  ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน ชุมชน และสังคม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
45130.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 45,130.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณต่าง ๆ สามารถถัวจ่ายกันได้ตามการจ่ายจริงกิจกรรมสถานที่และเวลา
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง มีสมรรถภาพทางร่างกายที่แข็งแรง จิตใจแจ่มใสเบิกบาน มีอายุยืนยาว สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน ชุมชน และสังคม


>