กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โภชนาการที่ดีเพื่อลูกในครรภ์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม

ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะนาเระ

ห้องประชุมอินทอง โรงพยาบาลปะนาเระ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การตั้งครรภ์เป็นระยะที่มีการสร้างเซลล์และเนื้อเยื้อต่างๆเกิดขึ้นมากกว่าปกติเพราะอัตราการเติบโตของทารกในครรภ์สูงกว่าระยะอื่นๆของชีวิตความต้องการสารอาหารและพลังงานระหว่างตั้งครรภ์จึงมีมากกว่าระยะอื่นถ้ามารดาได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงในปริมาณที่เพียงพอมารดาจะมีสุขภาพสมบูรณ์และให้กำเนิดทารกที่สมบูรณ์ด้วย มารดาที่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง เด็กคลอดก่อนกำหนด เด็กน้ำหนักน้อย จาการดำเนินงานพบว่าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ร้อยละ 20เด็กคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 10
ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะนาเระ เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้ทำโครงการโภชนาการที่ดีเพื่อลูกในครรภ์ให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร เพื่อให้ส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีแก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์ได้มีความรู้ที่ถูกต้องเพื่อเตรียมพร้อมตั้งครรภ์ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริยพันธุ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการที่ดี 2.เพื่อลดภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ เช่น ภาวะซีด น้ำหนักน้อย

1.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรค์มากกว่า 10% 2.ทารกแรกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม มากกว่า 7 %

2.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการบุตรและหญิงตั้งครรภ์ 20

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2021

กำหนดเสร็จ 30/06/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โภชนาการที่ดีเพื่อลูกในครรภ์

ชื่อกิจกรรม
โภชนาการที่ดีเพื่อลูกในครรภ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

นำหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตรและหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 20 ราย เพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 1 วัน ค่าใช้จ่าย - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรม 20 คน X 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน1,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม 20 คน X 25 บาท X 2 มื้อเป็นเงิน 1,000 บาท - ค่าวัสดุในการอบรมเป็นเงิน 5,000 บาท - ไวนิล เป็นเงิน 1,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการที่ดี
2.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี
3.ไม่เกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
4.ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม


>