กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวัง โรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด

สำนักงานเลขากองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลตะโหมด

เทศบาลตำบลตะโหมด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

แนวคิดการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในอดีตมุ่งเน้นการรักษาพยาบาลมากกว่าการป้องกันและควบคุมโรค แต่ประสบการณ์การดำเนินงานด้านสาธารณสุขแสดงให้เห็นว่า การดำเนินมาตรการที่ส่งผลต่อปัจจัยชี้ขาดต่อสุขภาพ ได้แก่ ปัจเจกบุคคลปัจจัยระดับชุมชนหรือสังคม ในระดับชุมชนหรือสังคมจะมีประสิทธิภาพมากกว่าการมุ่งเน้นการพัฒนายาเพื่อการรักษา สำหรับประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมากในช่วง 2 - 3 ทศวรรษที่ผ่านมา การเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองทำให้ภาคประชาชนและเอกชนมีบทบาทมากขึ้นในเกือบทุกด้าน รวมถึงบทบาทในระบบสาธารณสุขและการจัดสรรงบประมาณแบบเหมาจ่ายรายหัวโดยตรงสู่สถานบริการในพื้นที่ การจัดตั้งกองทุนสุขภาพระดับตำบลจนถึงการกระจายอำนาจโดยให้ท้องถิ่นมีภารกิจและบทบาทในการป้องกัน ควบคุมโรค ทรัพยากรในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคถูกจัดสรรสู่หน่วยงานในระดับพื้นที่และบริหารจัดการโดยหน่วยงานในพื้นที่เป็นหลัก โดยปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของระบบกลไก คือ การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชน ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลชอนสารเดช อำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี เป็นหน่วยงานหนึ่งที่เชื่อมโยงในด้านการดำเนินงานและเสริมสร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่ โดยสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรต่างๆมีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพอยู่แล้ว แต่ขาดการเชื่อมโยงภาพเชิงระบบและมีความเข้มแข็งแตกต่างกันในพื้นที่ แต่ละชุมชน/หมู่บ้าน ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภัย กรณีการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ขึ้น เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ต่อไปแนวคิดการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในอดีตมุ่งเน้นการรักษาพยาบาลมากกว่าการป้องกันและควบคุมโรค แต่ประสบการณ์การดำเนินงานด้านสาธารณสุขแสดงให้เห็นว่า การดำเนินมาตรการที่ส่งผลต่อปัจจัยชี้ขาดต่อสุขภาพ ได้แก่ ปัจเจกบุคคลปัจจัยระดับชุมชนหรือสังคม ในระดับชุมชนหรือสังคมจะมีประสิทธิภาพมากกว่าการมุ่งเน้นการพัฒนายาเพื่อการรักษา สำหรับประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมากในช่วง 2 - 3 ทศวรรษที่ผ่านมา การเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองทำให้ภาคประชาชนและเอกชนมีบทบาทมากขึ้นในเกือบทุกด้าน รวมถึงบทบาทในระบบสาธารณสุขและการจัดสรรงบประมาณแบบเหมาจ่ายรายหัวโดยตรงสู่สถานบริการในพื้นที่ การจัดตั้งกองทุนสุขภาพระดับตำบลจนถึงการกระจายอำนาจโดยให้ท้องถิ่นมีภารกิจและบทบาทในการป้องกัน ควบคุมโรค ทรัพยากรในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคถูกจัดสรรสู่หน่วยงานในระดับพื้นที่และบริหารจัดการโดยหน่วยงานในพื้นที่เป็นหลัก โดยปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของระบบกลไก คือ การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชน
ดังนั้นเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จในการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลตะโหมดจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภัย กรณีการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ขึ้น เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันตนเองจากโรคระบาด โรคอุบัติใหม่

ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคระบาด โรคอุบัติใหม่

0.00
2 เพื่อป้องกันภัยพิบัติจากธรรมชาติหรือโรคต่างๆ

สามารถป้องกันภัยพิบัติได้

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ

ชื่อกิจกรรม
ควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ดำเนินกิจกรรมควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติที่เกิดในเขตเทศบาลตำบลตะโหมด

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.สามารถควบคุมโรคระบาดที่เกิดขึ้นได้ทันท่วงที
2.สามารถลดอัตราการป่วยจากโรคระบาดได้


>