กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

สุขภาพดี เริ่มที่ตัวเรา (01-30)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี

ม. 8,11,1,13 ต.ตลิ่งชัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญในการดำรงชีวิต เนื่องจากพฤติกรรมในการใช้ชีวิต อาหาร อากาศ และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้เกิดโรคต่างๆตามมา การดูแลสุขภาพจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในปัจจุบัน องค์ความรู้หรือหลักการในการดูแลส่งเสริมสุขภาพมีหลายแขนงให้เราได้เรียนรู้ โดยเน้นการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมทั้งร่างกายและจิตใจ การแพทย์แผนไทยเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีองค์ความรู้ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองแบบองค์ โดยการปรับสดุลในด้านร่างกายและจิตใจ
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะบิงติงงี ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ จึงจัดทำโครงการสุขภาพดี เริ่มที่ตัวเรา เพื่อให้ความรู้แนวทางในการดูแลสุขภาพด้วยตัวเองแก่ อสม.ในเขตรับผิดชอบ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้อสม. มีความรู้พื้นฐานในการดูแลส่งเสริมสุขภาพตนเอง ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย

การทำแบบทดสอบการดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองทั้งก่อนและหลังได้รับการอบรม โดยคะแนนแบบทดสอบ หลังการอบรม ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80

100.00 80.00
2 เพื่ออสม.นำความรู้ที่ไดรับไปปฏิบัติได้จริง

อสม.สามารถนำความรู้ที่อบรม มาปฏิบัติในกิจกรรมสุขภาพดีด้วยอาหารได้ ร้อยละ 80

100.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่อสม. จำนวน 60 คน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่อสม. จำนวน 60 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4 มื้อ x 25 บาท x60 คน) เป็นเงิน 6,000 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน (1 มื้อ x 50 บาท x 60 คน )เป็นเงิน 6,000 บาท
3.สัมมนาคุณวิทยากร(จำนวน1คน x 300 บาท 5ชั่วโมง) เป็นเงิน 3,000 บาท 4.ค่าวัสดุจัดอบรม
-ปากกา จำนวน 60 ด้าม x 10 บาท เป็นเงิน  600 บาท -สมุด จำนวน 60 เล่มๆละ 15 บาท เป็นเงิน 900 บาท - กระเป๋าผ้า จำนวน 60 เล่ม ๆ ละ30 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 5.ค่าป้ายโครงการขนาด 1 x 3 ม. จำนวน 1ผืนๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 6.ชุดสาธิตอาหารเพื่อสุขภาพ จำนวน 6 ชุด ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อบรมให้ความรู้แก่อสม. จำนวน 60 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. อสม.มีความเข้าใจประโยชน์ของการดูแลตนเองด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย และสามารถนำความรู้
ที่ได้รับไปปฏิบัติได้จริง
2. เพื่อให้อสม.สามารนำความรู้ไปปฏิบัติได้ด้วยตัวเองที่บ้าน
3. เพื่อให้อสม.มีสุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี


>