กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด

รพ.สต.แหลมโตนด

ม.1-ม.9 ต.แหลมโตนด อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

 

10.00
2 จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

 

5.00

เกษตรกรในตำบลแหลมโตนด จำนวน 457คน จากการตรวจสารเคมีตกค้างในปีงบประมาณ 2560จำนวน 382คน พบว่า สารเคมีตกค้างในเลือดอยู่ในเกณฑ์ ปกติ จำนวน 15 คน ปลอดภัย จำนวน170คน มีความเสี่ยง จำนวน137คน ไม่ปลอดภัย จำนวน 60คน ปีงบประมาณ 2561 ตรวจสารเคมีตกค้าง จำนวน 106 คน พบว่าสารเคมีตกค้างในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย จำนวน75 คน มีความเสี่ยง จำนวน 30 คนไม่ปลอดภัย จำนวน 1 คนและ ปีงบประมาณ 2562ตรวจสารเคมีตกค้าง จำนวน 110คน พบว่า สารเคมีตกค้างในเลือดปลอดภัย จำนวน40 คน มีความเสี่ยง จำนวน43คน ไม่ปลอดภัย 27คน ปีงบประมาณ 2563ตรวจสารเคมีตกค้าง100 คนพบว่าปลอดภัย จำนวน10 คนเสี่ยง จำนวน 75 คนไม่ปลอดภัย จำนวน 15 คน ซึ่งเกษตรกรยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกรขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลแหลมโตนด ได้รับการตรวจสุขภาพเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการรักษาต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

10.00 5.00
2 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

5.00 0.00

1. เพื่อให้เกษตรกรมีพฤติกรรมสุขภาพในการประกอบอาชีพที่ถูกต้อง
2. เพื่อการเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ในเกษตรกร

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจหาสารเคมีตกค้างและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
ตรวจหาสารเคมีตกค้างและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมชี้แจงโครงการและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
  2. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อขอรับการอนุมัติจากประธานกองทุน
  3. จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อกลุ่มเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายและนัดวันเวลาและสถานที่ในการตรวจ
  4. ดำเนินการตรวจหาสารเคมีตกค้างและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง/งบประมาณ (ค่าวัสดุที่ใช้ในการตรวจสารเคมีในเลือด950 บาท/ขวด จำนวน 2 ขวดเป็นเงิน 1,900 บาท)
  5. ติดตามประเมินผล
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จากการติดตามผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเกษตรกรกุล่มเสี่ยง ครั้งที่ 2 ผลการตรวจการตรวจอยู่ในระดับที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 1,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เพื่อให้เกษตรกรมีพฤติกรรมสุขภาพในการประกอบอาชีพที่ถูกต้อง
2. เพื่อให้เกษตรกรได้รับการเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช


>