กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการภัยพิบัติและโรคระบาด กรณีฉุกเฉิน ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่

งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ฝ่ายปกครอง สำนักปลัดทต.บ้านไร่

เขตเทศบาลตำบลบ้านไร่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการจัดการบริการสาธารณสุขในการสร้างเสริม การป้องกัน การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิตของประชาชนในชุมชนหรือท้องถิ่น และตามประกาศคณ

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ กรณีเกิดภัยพิบัติหรือโรคระบาด

ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ หรือโรคระบาดฉุกเฉิน ได้รับการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ร้อยละ 100

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน 5,000
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 125
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลความเสียหาย กรณีเกิดภัยพิบัติ

ชื่อกิจกรรม
สำรวจข้อมูลความเสียหาย กรณีเกิดภัยพิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้รับข้อมูลความเสียหาย กรณีภัยพิบัติ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประเมินสถานการณ์ เพื่อกำหนดแนวทางการ ดำเนินงาน กรณีเกิดภัยพิบัติ หรือโรคระบาดฉุกเฉิน

ชื่อกิจกรรม
ประเมินสถานการณ์ เพื่อกำหนดแนวทางการ ดำเนินงาน กรณีเกิดภัยพิบัติ หรือโรคระบาดฉุกเฉิน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประเมินสถานการณ์ เพื่อกำหนดแนวทางการ ดำเนินงาน กรณีเกิดภัยพิบัติ หรือโรคระบาดฉุกเฉิน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กำหนดแนวทาง ดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการช่วยเหลือประชาชน กรณีฉุกเฉินภัยพิบัติ

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินการช่วยเหลือประชาชน กรณีฉุกเฉินภัยพิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ดำเนินการช่วยเหลือประชาชน กรณีฉุกเฉินภัยพิบัติ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนได้รับการช่วยเหลือ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
400000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 400,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพ กรณีเกิดภัยพิบัติ หรือโรคระบาด
2. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการช่วยเหลือได้ทันท่วงที/ทันเหตุการณ์


>