กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ระบาดในเด็กตามสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข

ตำบลควนลัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

 

80.00

งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข เห็นถึงความสำคัญในการรณรงค์ให้ความรู้และวิธีป้องกันโรคมือ เท้า ปาก แก่ผู้ประกอบการสถานศึกษาและผู้ปกครองของเด็ก ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการป้องกันโรค เพื่อยับยั้งการระบาดของโรคที่จะแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ)

80.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมการให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมการให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โรคมือ เท้า ปาก ขนาด 1.20x2.50 เมตร รวม 3 ตร.ม. ๆละ 120.- บาท เป็นเงิน 360.- บาท/ป้ายจำนวน 13 ป้าย เป็นเงิน 4,680.- บาท
  2. ค่าแผ่นพับประชาสัมพันธ์โรคมือ เท้า ปาก แผ่นละ 2.50.- บาท จำนวน 15,000 ใบ เป็นเงิน 37,500.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ครูมีความรู้ในการเฝ้าระวังการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
42180.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าหน้ากากอนามัยแบบผ้า จำนวน 4,000 ผืน ๆละ 8 บาท เป็นเงิน 32,000.- บาท
  2. ค่าสบู่เหลวขนาด 3,800 ซีซี จำนวน 32 ขวดๆละ 340.- บาท เป็นเงิน 10,880.- บาท
  3. ค่าขวดหัวปั้มใส่สบู่เหลว ขนาด 1,000 ซีซ ี จำนวน 140 ขวด ๆละ 80.- บาท เป็นเงิน 11,200.- บาท
  4. ค่าเจลแอลกอฮอล์ล้างมือแบบหัวปั้ม ขนาด 500 ซีซี จำนวน 150 ขวด ๆละ 165.- บาท เป็นเงิน 24,750.- บาท
  5. ค่าน้ำยาฟอกขาว ขนาด 3,800 ซีซี จำนวน 32 ขวด ๆละ 220.- บาท เป็นเงิน 7,040.- บาท
  6. ค่าน้ำยาทำความสะอาด ขนาด 3,800 ซีซี จำนวน 32 ขวด ๆละ 280.- บาท เป็นเงิน 8,960.- บาท
  7. ค่าแอลกอฮอล์ขนาด 450 ซีซี จำนวน 200 ขวด ๆละ 65.- บาท เป็นเงิน 13,000.- บาท
  8. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จำเป็น จำนวน 390.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กได้รับการป้องกันและลดอัตราการติดเชื้อของโรคมือ เท้า ปากได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
107820.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 150,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คุณครูจะได้รับความรู้ในการป้องกันโรคมือ เท้า ปากอย่างถูกต้อง
2.เมื่อป้องกันที่ดีแล้วนักเรียนจะไม่เป็นโรคมือ เท้า ปาก


>