กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวานรายใหม่ในชุมชนเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านห้วยไทร ปีงบประมาณ 2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
รพสต.บ้านห้วยไทร
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชชนที่ต้องได้รับการฝระวัง นอกจกอุบัติเหตุและโรคติดต่อแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังก็เป็นสาหตุสำคัญของการตายและความพิกร ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลงและ ก่อให้เกิดการสูญเสียทรัพยกรเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ได้แก่ โรคความตันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง เป็นต้น การค้นหา และการตรวจสุขภาพของประชาชน ตามกลุ่มอายุตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยสูงอายุเป็นภารกิในกรดำเนินงานสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี สามารถพึ่งพาตนองทางด้านสุขภาพมากขึ้น โดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อม สุขภาพ โดยถือว่า สุขภาพป็นเรื่องของประชาชนทุกคน สำหรับการตรวจสุขภาพในกลุ่มอาุยต่างๆ ได้แก่ วัยทำงาน วัยทอง และวัยสูงอายุ เป็นกลุ่มที่มีความสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมป็นส่วนใหญ่ อาทิ เช่น พฤติกรรมการ บริโภค พฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการสูบบุหรี การบริโภคเครื่องดีมที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงภาวะเครียด ทั้งนี้จากาการสำรวจและคาดประมาณจำนวนผู้ป้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานพบว่าประชาชนยังขาดความตระหนักใน การดูแลรักษาโรคมากกว่าร้อยละ 50 โดยนโยบายระดับชาติเพื่อควบคุมโรคเหล่านี้ คือ การตรวจ ค้นหา คัดกรองตรวจสุขภาพของประชาชน และการควบคุมปัจจัยเสี่ยงการเกิดของโรคเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนยังไม่ ตระหนักถึงการดูแลและตรวจสุขภาพ เพราะคิดว่าสุขภาพร่งกายแข็งแรงไม่มีอาการของโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทร เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในระดับตำบล ในการนำนโยบายด้านสุขภาพสู่การปฏิบัติ เพื่อประโยชน์สูงสุดด้านสุขภาพแก่ประชาชนในเขตความรับผิดชอบ และได้เห็นความสำคัญถึงการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จึงได้จัดทำ "โครงการพัฒนาศักยภาพครือข่ายเฝ้ระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน ปึงบประมาณ ๒๕๖๔"ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้ระวังภัยสุขภาพในชุมชน คัดกรองสุขภาพประชาชนและการสร้างทางเลือกในการดูแลสุขภาพ โดยได้มีการคัดกรองและตรวจสุขภาพประชาชนตั้งแต่๓๕ ปีขึ้นไป ซึ่งประกอบด้วย วัยทำงาน วัยทองและวัยสูงอายุ (อายุ ๖๐ปีขึ้นไป) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจัดกิจกรรมลดอุบัติกรเกิดโรครายใหม่ สร้งทีมงานเพื่อฝ้ระวังการเกิดโรค และให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวอย่างถูกต้อง ทีจะส่งผลต่อการลดอุบัติการณ์เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ในอนาคต เกิดความความตระหนักรู้สู่การปฏิบัติในการดูแลสุขภาพประชาชนอย่างยั่งยืนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อพัฒนาทักษะความชำนาญการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดัน BMI และมวลไขมัน อย่างมืออาชีพแก่อาสมัครสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย สอบผ่านทักษะการปฏิบัติด้านการคัดกรอง ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา
    ตัวชี้วัด : พบกลุ่มเสี่ยงจากการตรวจหาค่าระดับน้ำตาล/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 จากเป้าหมายคัดกรอง และได้รับการติดตามให้คำปรึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยและผู้สนใจ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีคะแนนวัดความรู้ 8/10 คะแนน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ หลังการอบรม
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. พัฒนาทักษะความชำนาญการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดัน BMI และมวลไขมัน อย่างมืออาชีพ
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย : อาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกคน วิทยากร : พยาบาลวิชาชีพ คลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 1.1 อบรมให้ความรู้ทักษะการคัดกรองและทดสอบปฏิบัติการตรวจคัดกรอง (จำนวน  2 รุ่น) ๑.๒ ทดสอบปฏิบัติการตรวจคัดกรอง วัดความดัน เจาะปลายนิ้ว และแปรผล งบประมาณ - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x 50 คน x 2 รุ่น เป็นเงิน 5,00๐ บ. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x  ๒ มื้อ x 50 คน x 2 รุ่น เป็นเงิน 5,000 บ. - ค่าตอบแทนวิทยากร 6๐๐ บ. x 6 ชม. x 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บ. รวมเป็นเงิน 17,200 บาท

    งบประมาณ 17,200.00 บาท
  • 2. ตรวจคัดกรองความดัน ระดับน้ำตาล กลุ่มเสี่ยงในชุมชน 7 หมู่บ้าน
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชนกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป วิทยากร : แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและ/หรือพยาบาลวิชาชีพ คลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.1 ตรวจคัดกรองความดัน ระดับน้ำตาล 2.2 บรรยาย/ให้คำแนะนำ และฟังผลตรวจสุขภาพจากรายบุคคล งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ. x 1 มื้อ x 67 คน x 7 หมู่บ้าน เป็นเงิน 11,725 บ. (ขอเบิกเพียง 11,700 บ.) - ค่าตอบแทนวิทยากร 6๐๐ บ. x 3 ชม. x 7 ครั้ง เป็นเงิน 12,600 บ. เป็นเงิน 24,300 บาท

    งบประมาณ 24,300.00 บาท
  • 3. อบรม/ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย/ผู้สนใจ
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชนเสี่ยงป่วยจากการคัดกรอง วิทยากร : พยาบาลวิชาชีพ คลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3.1 อบรมให้ความรู้หลัก 3อ ๒ส ส่งเสริมการออกกำลังกายและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ประชาชนในพื้นที่ ตรวจวัดดัชนีมวลกาย 3.2 ฝึกปฏิบัติกิจกรรมทางกาย งบประมาณ - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x 49 คน  เป็นเงิน 2,450 บ. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x  ๒ มื้อ x 49 คน เป็นเงิน 2,450 บ. - ค่าตอบแทนวิทยากร 6๐๐ บ. x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บ. รวมเป็นเงิน 8,500 บาท

    งบประมาณ 8,500.00 บาท
  • 4. ๔. การส่งเสริมกิจกรรมทางกายแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง
    รายละเอียด

    ๔.๑ กายบริหาร / ยืดเหยียด ๔.๒ เดินเร็ว / สลับวิ่ง ๔.๓ เต้นแอโรบิค

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 4 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ 10

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 50,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เครือข่ายสุขภาพ มีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองสุขภาพและแนวทางในการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยความดันและโรคเบาหวาน
    1. เครือข่ายสุขภาพมีทักษะในการคัดกรองโรคความดัน และโรคเบาหวาน ๓. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดัน ๔. กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย/ผู้สนใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมภาวะสุขภาพได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 50,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................