กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ คัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและครัวเรือน (ชมรม อสม.หมู่ที่ 1)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ชมรม อสม. หมู่ที่1

1.นางกนกวรรณ หลินมา
2.นางสุภาพร อินทร์คงช่วย
3.นางสาววนิดา สงอักษร
4.นางสาววิณารัตน์สงครินทร์
5.นางรัตนา เพชรขาวช่วย

หอประชุมหมู่ที่ 1 ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันพบว่าขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หากไม่ได้รับการจัดสรรที่ถูกวิธีนับวันก็จะเป็นปัญหามลภาวะที่เป็นพิษ ก่อให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์โรคต่างๆ ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านพร้าวก็เช่นเดียวกันขณะนี้มีปริมาณขยะทั้งหมด 90ตัน/เดือน หมูที่ 1 ก็มีจำนวน 10 ตัน/เดือนซึ่งถือว่ามีปริมาณที่มาก และนับวันจะมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หากไม่มีการกำจัดที่ถูกวิธี ฉะนั้นการกำจัดขยะที่ถูกวิธีจะต้องเริ่มจากครัวเรือนซึ่งเป็นต้นทางของขยะสมาชิกในครอบครัวต้องมีความสำนึกในการรับผิดชอบและมีความรู้ในการกำจัดที่ถูกวิธีดังนั้นทางชมรม อสม หมู่ที่1 จึงได้จัดทำโครงการขยะดี มีค่า ลดปัญหาสิ่งแสดล้อมเป็นพิษและแหล่งเพาะพันธ์โรคขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และรู้วิธีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ และเป็นการทำลายแหล่งเพาะพันธ์โรค ที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อีกทั้งเป็นการช่วยลดต้นทุนในการกำจัดขยะของหน่วยงานภาครัฐด้วย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนและในพื้นที่รู้จักคัดแยกขยะและลดปัญหาขยะในชุมชน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมรักษาสิ่งแวดล้อม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรักษาสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน แนะนำวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพในครัวเรือน -ส่งเสริมการคัดแยกขยะ -ติดตามประเมินผล

งบประมาณ -ค่าป้ายโครงการฯ 1x3@ x150 = 450 -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25.- x 1 มื้อ=1250 -ค่าวิทยากร 3 ชม. x 300 บาท = 900 -ค่าวัสดุถังทำน้ำหมัก จำนวน 50 ใบ × 120 บาท= 6000 -ค่าวัสดุการทำน้ำหมักชีวภาพ จำนวน 10แกลลอน @330.- =3300 รวมเงิน11900.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของครอบครัวเรือนได้เข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการทำน้ำหมักชีวภาพ ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะและทำน้ำหมักชีวภาพไปใช้ในครัวเรือนได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนที่เข้าร่วมมีความรู้ในการกำจัดขยะได้ถูกวิธี
2.ลดขยะในชุมชน
3.เพิ่มมูลค่าของขยะที่ย่อยสลายได้กลับมาเป็นปุ๋ยเพื่อใช้ในการเกษตรของครัวเรือน
4.มีครอบครัวต้นแบบเรื่องการกำจัดขยะในชุมชน


>