กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ต้านโรคเอ็นซีดี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา

1 นายมะยุรีเจะโซะ
2 นางสาวนิอาซีซะห์เจ๊ะอาลี

หมู่ที่ 1,3,6 และ 7ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กลุ่มโรค NCDs เป็นโรคอันดับหนึ่งที่ทำให้คนไทยป่วย พิการ และเสียชีวิต ในปี 2556 พบว่าคนไทยที่เสียชีวิตร้อยละ 71 มีสาเหตุจากโรคเอ็นซีดีสำคัญ ได้แก่ 1) โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง 2) โรคเบาหวาน 3) โรคมะเร็ง 4) โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ซึ่งผู้ที่เสี่ยงเป็นโรคเอ็นซีดีจะมีกลุ่มอาการทางเมตาบอลิกเกิดขึ้น คือ ไขมันสูงความดันโลหิตสูง 3) น้ำตาลในเลือดสูง และน้ำหนักเกิน/อ้วน การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญ เช่น การบริโภคยาสูบ การดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ การส่งเสริมมาตรการ 3 อ 2 ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ เลิกยาสูบ เลิกสุรา) ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรค NCDs รวมถึงประชาชนวัยทำงาน จะช่วยลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs โดยเฉพาะเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ ทั้งนี้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงมากกว่ากลุ่มที่อายุน้อย
จากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา พบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อเบาหวานจำนวน 296 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.6 และพบผู้ที่มีภาวะสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงจำนวน 342 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.28 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา จึงจัดทำโครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ต้านโรคเอ็นซีดี 2564ขึ้น เพื่อลดการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ดังกล่าว

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส.

เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส.

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 สื่อสารรายละเอียดโครงการให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในเขตพื้นที่และเชิญชวนเข้าร่วมโครงการโดยมีการยืนยันเจตจำนงหรือข้อตกลงในการเข้าร่วมโครงการ 3.2 ประเมินร่างกายและบันทึกผล 3.3 จัดอบรมให้ความรู้ โดยแบ่งเป็นรุ่นๆละ 40 คน รวม 4 รุ่น
3.3 ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจหลังอบรมไปแล้ว3 เดือน และบันทึกผล 3.4 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการพร้อมแบบรายงานหรือบัญชีรายชื่อผู้ที่เข้าร่วมโครงการ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามมาตรการ 3 อ 2 ส

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยที่สามารถปฏิบัติตนตามหลัก 3 อ. 2 ส. ได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
43280.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจหลังอบรมไปแล้ว 3 เดือน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจหลังอบรมไปแล้ว 3 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 สื่อสารรายละเอียดโครงการให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในเขตพื้นที่และเชิญชวนเข้าร่วมโครงการโดยมีการยืนยันเจตจำนงหรือข้อตกลงในการเข้าร่วมโครงการ 3.2 ประเมินร่างกายและบันทึกผล 3.3 จัดอบรมให้ความรู้ โดยแบ่งเป็นรุ่นๆละ 40 คน รวม 4 รุ่น
3.3 ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจหลังอบรมไปแล้ว  3 เดือน และบันทึกผล 3.4 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการพร้อมแบบรายงานหรือบัญชีรายชื่อผู้ที่เข้าร่วมโครงการ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามมาตรการ 3 อ 2 ส

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยที่สามารถปฏิบัติตนตามหลัก 3 อ. 2 ส. ได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 47,280.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่


>