โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้ ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงจากงานประกันสุขภาพ สอ.คูหาใต้
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L8402-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8402-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชาชนที่ต้องได้รับการแก้ไขนอกจากโรคติดต่อแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อก็เป็นสาเหตุสำคัญของการตาย และความพิการทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลง และก่อให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพฤกษ์ -อัมพาต โรคเบาหวานและโรคมะเร็ง จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าการตรวจค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังต่างๆของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใต้ยังไม่บรรลุเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้ คือร้อยละ 95 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใตได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกต้องเหมาะสม และเพื่อให้การดำเนินงานคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงบรรลุเป้าหมาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใต้ได้เห็ความสำคัญของการดำเนินการคัดกรองและตรวจสุขภาพประชาชนในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป วัยทำงาน วัยทอง และวัยสูงอายุ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามโครงการ ปิงปอง 7 สี คือกลุ่มเสี่ยงตามระดับสีต่างๆจากน้อยไปหามาก ตั้งแต่สีเขียว สีเหลือง สีส้ม สัีแดง และสีดำ ตามลำดับ อายุตั้งแต่ 35ปีขึ้นไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามโครงการปิงปอง 7 สี มีความรู้ในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป
- เพืไ่อให้ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้เรื่องการตรวจวัดความดันโลหิตสูงและการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
64
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงครอบคลุมร้อนละ 80
2.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามโครงการปิงปอง 7 สี มีความรู้ในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป
3.ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/บาหวานได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง
4.อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดความดันโลหิตและตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. แถบตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 22 กล่องๆละ 850 บาท
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการเจาะเลือด เพื่อวัดค่าน้ำตาล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการเจาะเลือด เพื่อวัดค่าน้ำตาล
0
0
2. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 72 คนๆละ 25 บาท
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
อาหารว่างในการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาหารว่างในการจัดกิจกรรม
72
0
3. ค่าอาหารกลางวันสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 72 คนๆละ 60 บาท
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
อาหารกลางวันในการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาหารกลางวันในการจัดกิจกรรม
72
0
4. ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
อาหารกลางวันในการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาหารกลางวันในการจัดกิจกรรม
0
0
5. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูงกลุ่มสีส้ม จำนวน 64 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารว่างในการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค่าอาหารว่างในการดำเนินกิจกรรม
0
0
6. เข็มเจาะปลายนิ้ว จำนวน 6 กล่อง กล่องละ 750 บาท
วันที่ 31 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการเจาะเลือด เพื่อวัดค่าน้ำตาล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการเจาะเลือด เพื่อวัดค่าน้ำตาล
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชุมชี้แจงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวทางเดียวกัน จัดทำแผนวันกำหนด วันออกปฏิบัติงานเชิงรุก การดำเนินงานคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพคูหาใต้ ในกลุ่มประชาชนกลุ่มที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการคัดกรองเพื่อของบประมาณสนับสนุนโครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ต่อมาประชาสัมพันธ์โครงการฯ โดยเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายให้เข้าร่วมโครงการฯผ่านทาง อสม. แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน และมีการแต่งตั้งทีมสุขภาพสำหรับออกดำเนินงานคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ รพ.สต.คูหาใต้ อสม.นัดประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปตามละแวกที่รับผิดชอบเป็นจุดในแต่ละหมู่ เพื่อรับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เมื่อถึงวันนัดเจ้าหน้าที่และ อสม. ช่วยซักประวัติการเจ็บป่วยก่อนหน้า รวมถึงประวัติการเกิดโรคในครอบครัวที่เป็นภาวะเสี่ยงและประวัติพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพตามแบบคัดกรองโรคฯ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดดรรชนีมวลกายตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจหาน้ำตาลในเลือดในรายที่มีภาวะเสี่ยงสูง ได้ถูกส่งต่อเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง เหมาะสมในสุขศึกษาประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทั้งในสถานที่บริการและในชุมชน เกี่ยวกับบทบาทในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน เพื่อป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนโดย อสม. เจ้าหน้าที่จัดตั้งชมรมกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดยใช้กลุ่มผู้ป่วยมาจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน เช่น ให้ผู้ป่วยพูดคุยกันว่า เมื่ออยู่ที่บ้านแล้วมีพฤติกรรมและแบบแผนการใช้ชีวิต อย่างไรการพูดให้กำลังใจในการจัดการหรือดูแลกันเองติดตามเยี่ยมกลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อนอย่าต่อเนื่อง โดยให้ผู้ป่วยมีบทบาทในการจัดการดูแลตนเองอย่างเข้มแข็งกระตุ้นให้กำลังใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคและแบบแผนการใช้ชีวิต เช่น ลดการบริโภคเกลือ (โซเดียม) ลดน้ำหนักเมื่ออ้วนหรือมีภาวะน้ำหนักเกินเพิ่มการบริโภคผัก ผลไม้ นม ที่มีไขมันต่ำ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์มากเกินไปและเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายอย่างเหมาะสม เพื่อลดภาวะเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนอันเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง โดยให้ครอบครัว ชุมชนได้มีส่วนร่วม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนักและใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเองครอบครัวและชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหรือวิถีชีวิตที่ก่อหรือเสริมการเป็นโรคได้ถูกต้องเหมาะสมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00
ประชาชนได้เข้ารับการตรวจคัดกรองทั้งหมด 1064
2
เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามโครงการปิงปอง 7 สี มีความรู้ในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึี้นไป ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงโรครเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า 80
80.00
ประชาชนอายุ35 ปีขึ้นไปที่เสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง จำนวน 64 คน มีความรู้และตระหนักใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุนชน
3
เพืไ่อให้ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่าน้อยละ 80
80.00
4
เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้เรื่องการตรวจวัดความดันโลหิตสูงและการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
ตัวชี้วัด : สามาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้ในการตรวจวัดความดันโลหิตสูงและตรวจระดับน้ำตาลในเลือดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
64
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
64
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามโครงการปิงปอง 7 สี มีความรู้ในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป (3) เพืไ่อให้ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง (4) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้เรื่องการตรวจวัดความดันโลหิตสูงและการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L8402-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( เงินบำรุงจากงานประกันสุขภาพ สอ.คูหาใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้ ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงจากงานประกันสุขภาพ สอ.คูหาใต้
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L8402-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8402-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชาชนที่ต้องได้รับการแก้ไขนอกจากโรคติดต่อแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อก็เป็นสาเหตุสำคัญของการตาย และความพิการทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลง และก่อให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพฤกษ์ -อัมพาต โรคเบาหวานและโรคมะเร็ง จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าการตรวจค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังต่างๆของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใต้ยังไม่บรรลุเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้ คือร้อยละ 95 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใตได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกต้องเหมาะสม และเพื่อให้การดำเนินงานคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงบรรลุเป้าหมาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใต้ได้เห็ความสำคัญของการดำเนินการคัดกรองและตรวจสุขภาพประชาชนในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป วัยทำงาน วัยทอง และวัยสูงอายุ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามโครงการ ปิงปอง 7 สี คือกลุ่มเสี่ยงตามระดับสีต่างๆจากน้อยไปหามาก ตั้งแต่สีเขียว สีเหลือง สีส้ม สัีแดง และสีดำ ตามลำดับ อายุตั้งแต่ 35ปีขึ้นไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามโครงการปิงปอง 7 สี มีความรู้ในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป
- เพืไ่อให้ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้เรื่องการตรวจวัดความดันโลหิตสูงและการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 64 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงครอบคลุมร้อนละ 80 2.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามโครงการปิงปอง 7 สี มีความรู้ในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป 3.ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/บาหวานได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง 4.อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดความดันโลหิตและตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. แถบตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 22 กล่องๆละ 850 บาท |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำดำเนินการเจาะเลือด เพื่อวัดค่าน้ำตาล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการเจาะเลือด เพื่อวัดค่าน้ำตาล
|
0 | 0 |
2. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 72 คนๆละ 25 บาท |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำอาหารว่างในการจัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาหารว่างในการจัดกิจกรรม
|
72 | 0 |
3. ค่าอาหารกลางวันสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 72 คนๆละ 60 บาท |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำอาหารกลางวันในการจัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาหารกลางวันในการจัดกิจกรรม
|
72 | 0 |
4. ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำอาหารกลางวันในการจัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาหารกลางวันในการจัดกิจกรรม
|
0 | 0 |
5. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูงกลุ่มสีส้ม จำนวน 64 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำค่าอาหารว่างในการดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค่าอาหารว่างในการดำเนินกิจกรรม
|
0 | 0 |
6. เข็มเจาะปลายนิ้ว จำนวน 6 กล่อง กล่องละ 750 บาท |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำดำเนินการเจาะเลือด เพื่อวัดค่าน้ำตาล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการเจาะเลือด เพื่อวัดค่าน้ำตาล
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชุมชี้แจงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวทางเดียวกัน จัดทำแผนวันกำหนด วันออกปฏิบัติงานเชิงรุก การดำเนินงานคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพคูหาใต้ ในกลุ่มประชาชนกลุ่มที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการคัดกรองเพื่อของบประมาณสนับสนุนโครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ต่อมาประชาสัมพันธ์โครงการฯ โดยเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายให้เข้าร่วมโครงการฯผ่านทาง อสม. แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน และมีการแต่งตั้งทีมสุขภาพสำหรับออกดำเนินงานคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ รพ.สต.คูหาใต้ อสม.นัดประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปตามละแวกที่รับผิดชอบเป็นจุดในแต่ละหมู่ เพื่อรับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เมื่อถึงวันนัดเจ้าหน้าที่และ อสม. ช่วยซักประวัติการเจ็บป่วยก่อนหน้า รวมถึงประวัติการเกิดโรคในครอบครัวที่เป็นภาวะเสี่ยงและประวัติพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพตามแบบคัดกรองโรคฯ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดดรรชนีมวลกายตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจหาน้ำตาลในเลือดในรายที่มีภาวะเสี่ยงสูง ได้ถูกส่งต่อเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง เหมาะสมในสุขศึกษาประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทั้งในสถานที่บริการและในชุมชน เกี่ยวกับบทบาทในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน เพื่อป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนโดย อสม. เจ้าหน้าที่จัดตั้งชมรมกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดยใช้กลุ่มผู้ป่วยมาจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน เช่น ให้ผู้ป่วยพูดคุยกันว่า เมื่ออยู่ที่บ้านแล้วมีพฤติกรรมและแบบแผนการใช้ชีวิต อย่างไรการพูดให้กำลังใจในการจัดการหรือดูแลกันเองติดตามเยี่ยมกลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อนอย่าต่อเนื่อง โดยให้ผู้ป่วยมีบทบาทในการจัดการดูแลตนเองอย่างเข้มแข็งกระตุ้นให้กำลังใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคและแบบแผนการใช้ชีวิต เช่น ลดการบริโภคเกลือ (โซเดียม) ลดน้ำหนักเมื่ออ้วนหรือมีภาวะน้ำหนักเกินเพิ่มการบริโภคผัก ผลไม้ นม ที่มีไขมันต่ำ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์มากเกินไปและเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายอย่างเหมาะสม เพื่อลดภาวะเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนอันเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง โดยให้ครอบครัว ชุมชนได้มีส่วนร่วม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนักและใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเองครอบครัวและชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหรือวิถีชีวิตที่ก่อหรือเสริมการเป็นโรคได้ถูกต้องเหมาะสมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
80.00 | ประชาชนได้เข้ารับการตรวจคัดกรองทั้งหมด 1064 |
||
2 | เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามโครงการปิงปอง 7 สี มีความรู้ในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึี้นไป ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงโรครเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า 80 |
80.00 | ประชาชนอายุ35 ปีขึ้นไปที่เสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง จำนวน 64 คน มีความรู้และตระหนักใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุนชน |
||
3 | เพืไ่อให้ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่าน้อยละ 80 |
80.00 |
|
||
4 | เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้เรื่องการตรวจวัดความดันโลหิตสูงและการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ตัวชี้วัด : สามาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้ในการตรวจวัดความดันโลหิตสูงและตรวจระดับน้ำตาลในเลือดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 64 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 64 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามโครงการปิงปอง 7 สี มีความรู้ในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป (3) เพืไ่อให้ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง (4) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะความรู้เรื่องการตรวจวัดความดันโลหิตสูงและการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ปี 2560 รพ.สต.คูหาใต้ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L8402-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( เงินบำรุงจากงานประกันสุขภาพ สอ.คูหาใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......