กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน


“ โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน (โครงการต่อเนื่อง)ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวัฒนชัย ไชยจิตต์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน (โครงการต่อเนื่อง)ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 5 เลขที่ข้อตกลง 5

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน (โครงการต่อเนื่อง)ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน (โครงการต่อเนื่อง)ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน (โครงการต่อเนื่อง)ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,560.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) จากการที่รัฐบาลมีนโยบาลพัฒนาประเทศไทยให้เป็น“ประเทศไทย 4.0 ” (Thailand 4.0 ) โดยมุ่งเน้นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ยกระดับคุณภาพการให้บริการสาธารณสุขแก่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตามนโยบาลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข “ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ร่างกายแข็งแรง ทำให้เศรษฐกิจประเทศแข็งแรง ” กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตั้งเป้าหมายให้ “เป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ ” โดยมีการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพ ในทุกช่วงวัย โดยมีการเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ สติปัญญาและสังคม โดย ประกอบไปด้วย 1. การส้รางความรอบรู้ด้านสุขภาวะ 2. การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ 3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี 4. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการส้รางสุขภาวะที่ดี 5. การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะที่ดีในพื้นที่ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน เพื่อพัฒนาศักยภาพ เพิ่มขีดความสามารถของ อสม.ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ให้ประชาชนทุกครัวเรือนสามารถเข้าถึงการบริการทางการแพทย์ได้อย่างทั่วถึง ให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ลดความแออัด ลดความเหลื่อมล้ำ ไร้รอยต่อ ลดการรอคอย และลดค่าใช้จ่าย รวมถึงการให้ความรู้ด้านสมุนไพรที่ถูกต้องแก่ประชาชน ได้แก่ 1.วิชา อสค.และบทบาท อสม.หมอประจำบ้าน 2.วิชาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ 3.วิชาส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ 4.วิชาภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์ 5.วิชาเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ และแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ และ 6.การเป็นผู้นำการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม โดยมีการสนับสนุนให้มีอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ทุกครอบครัวทั้งในกลุ่มที่มีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง กลุ่มภาวะพึ่งพิงและกลุ่มครอบครัวทั่วไปในละแวกบ้านของ อสม. หมอประจำบ้าน เป็นพี่เลี้ยงให้ อสค.ดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ ลดโรคเรื้อรัง ปัญหาสุขภาพจิต อุบัติเหตุ ใช้เครื่องมือสื่อสาร และเป็นการแกนในการดูแลสุขภาพ เพื่อมุ่งหวังให้ประชาชนมีสุขภาพดี แข็งแรง พึ่งพาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ นักจัดการสุขภาพ 4.0ให้เป็น หมอประจำบ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน
  2. ดำเนินการฝึกภาคปฏิบัติงานตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
นักจัดการสุขภาพ 59

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักจัดการสุขภาพได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็นตามหลักสูตร .นักจัดการสุขภาพสู่หมอประจำบ้าน.


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

วันที่ 16 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วันที่  16 - 17 มิ.ย.64 อสม.เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

 

59 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

วันที่ 17 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วิทยายินดีมาให้ความรู้ตามวันและเวลาที่กำหนดไว้

 

59 0

3. ดำเนินการฝึกภาคปฏิบัติงานตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

วันที่ 22 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกภาคปฏิบัติงานตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.เข้าร่วมกิจกรรมฝึกภาคปฏิบัติงานตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

 

59 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพ นักจัดการสุขภาพ 4.0ให้เป็น หมอประจำบ้าน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอสค.และบทบาท อสม.หมอประจำบ้าน ร้อยละ 70 2. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่มีความรู้เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ ร้อยละ 70 3. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ร้อยละ 70 4. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์ ร้อยละ 70 5. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ และแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ ร้อยละ 70 6. ร้อยละของนักจัดการสุขภาพเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 59
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
นักจัดการสุขภาพ 59

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพ นักจัดการสุขภาพ 4.0ให้เป็น หมอประจำบ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน (2) ดำเนินการฝึกภาคปฏิบัติงานตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน (โครงการต่อเนื่อง)ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวัฒนชัย ไชยจิตต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด