กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี


“ โครงการกิจกรรมลดน้ำหนัก พิชิตความอ้วน ตามวิธีชุมชน ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมมัดเฟาซี ลาเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการกิจกรรมลดน้ำหนัก พิชิตความอ้วน ตามวิธีชุมชน ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3031-12-15 เลขที่ข้อตกลง 010

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกิจกรรมลดน้ำหนัก พิชิตความอ้วน ตามวิธีชุมชน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกิจกรรมลดน้ำหนัก พิชิตความอ้วน ตามวิธีชุมชน ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกิจกรรมลดน้ำหนัก พิชิตความอ้วน ตามวิธีชุมชน ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3031-12-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เมตาบอลิค ซินโดรม (Metabolic syndrome) หรืออาจเรียกให้เข้าใจง่ายๆคือ “โรคอ้วนลงพุง “มีสาเหตุเริ่มมต้นจาการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม กินอาหารมากเกินไป โดยเฉพาะอาหารที่มีน้ำตาล และไขมันสูง ร่วมกับการไม่ออกกำลังกาย ทำให้น้ำหนักมากเกินไป พุงยื่น สำหรับคนไทย ผู้ชายไม่ควรมีรอบเอวเกิน 90 เซนติเมตร ผู้หญิง ไม่ควรมีรอบเอวเกิน 80 เซนติเมตร ผู้ที่มีปัญหาอ้วนลงพุง มักจะมีความผิดปกติอื่นๆร่วมด้วย ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ 130/80 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป (ความดันโลหิตตัวใดตัวหนึ่งสูงก็ถือว่าผิดปกติ ) น้ำตาลในเลือดสูง ตั้งแต่ 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป ไขมันไตรกรีเซอไรด์สูง ตั้งแต่ 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป โคเลสเตอรอลชนิดดี (HDL cholesterol ) ต่ำกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรสำหรับผู้ชาย และต่ำกว่า 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป สำหรับผู้หญิง การมีความผิดปกติต่างๆ เหล่านี้ ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อัมพาตที่เกิดจากหลอดเลือดสมองอุดตัน ทำให้สมองขาดเลือด นอกจากนี้ยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และยังก่อให้เกิดโรคตับเรื้อรังจากการที่มีไขมันสะสมอยู่ในเนื้อตับ ซึ่งนำโรคไปสู่โรคตับแข็งได้ ผู้ป่วยเมตาบอลิค ซินโดรม อาจจะไม่มีอาการผิดปกติอะไร ยกเว้น “อ้วนลงพุง”ดังนั้น หากไม่ได้รับการสุขภาพก็จะไม่ทราบว่ามีความดันโลหิตสูง น้ำตาลสูง หรือมีไขมันผิดปกติ บางรายมีความดันโลหิตสูง อาจจะมีอาการปวดศีรษะหรือเวียนศีรษะ ส่วนรายที่มีน้ำตาลในเลือดสูงเข้าขั้นเบาหวาน อาจจะมีปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ หรือมีอาการอื่นๆของโรคเบาหวาน     จากข้อมูลองค์การอนามัยโลกในปี พ.ศ 2557 พบว่าทั่วโลกมีผู้ใหญ่ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน (ค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 กก/ตร.ม.ขึ้นไป อย่างน้อย 600 ล้านราย นั่นคือ ร้อยละ 39 ของผู้ใหญ่ในโลกนี้มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน อีกด้วย ในประเทศไทย โรคอ้วนเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากถึง 20,000 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 5.1 ของการเสียชีวิตทั้งหมดในปี พ.ศ.2557 และจากผลการสำรวจล่าสุด พบว่าคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ป่วยโรคอ้วน ติดอันดับ 5 ของเอเชียแปซิปิก โดยมีคนอ้วนมากถึง 17 ล้านคนทั่วประเทศ และยังแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 4 ล้านคนต่อปี การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยทั่วประเทศโดยการตรวจร่างกาย คนไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไปในปี พ.ศ.2552 พบว่ามีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน (ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 25 กก./ตร.ม. ขึ้นไป) มากกว่า 1 ใน 3 เมื่อเทียบกับผลการสำรวจในปี พ.ศ.2554 พบว่าเพิ่มขึ้น 2 เท่า (จาก 17.2% เป็น 34.7%) และภาวะอ้วนเพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่า (จาก 3.2 % เป็น 9.1 %) หากเปรียบเทียบในระดับภูมิภาคพบว่า คนไทยอ้วนสูงสุด เป็นอันดับ 2 จากทั้งหมด 10 ประเทศอาเซียน รองจากมาเลเซียเท่านั้น โรคอ้วนมีโอกาสเกิดขึ้นกับบุคคลได้ทุกคน ในปัจจุบันยังไม่สามารถบ่งชี้ปัจจัยเสี่ยงที่แท้จริงของการเกิดภาวะอ้วนได้ อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงที่น่าจะเป็นสาเหตุของการเกิดถาวะอ้วนได้แก่ พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไขมันสูง มีพลังงานสูง วิถีชีวิต นั่งๆนอนๆ ขาดกิจกรรมทางกาย ประวัติความอ้วนในครอบครัว อายุที่มากขึ้น รวมทั้งการสูบบุหรี่
ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวี มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่รับผิดชอบทั้งสิ้น 84 คน ซึ่งเป็นบุคคลต้นแบบในการทำงานด้านสุขภาพในชุมชนเพื่อขับเคลื่อนโยบายตำบลจัดการสุขภาพและหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากผลการคัดกรองสุขภาพพบว่ามีผู้ที่รอบเอวและ BMI เกินเกณฑ์จำนวน 60 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 70.5 จากข้อมูลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวี ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคอ้วนในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขแล้ว จะเกิดปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนตามมาอีก โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันเลือดสูง โรคมะเร็ง และโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เนื่องจากค่าใช้จ่ายทางสุขภาพที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย แต่หากสามารถแก้ปัญหาโรคอ้วนได้ ก็จะทำให้อัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังอื่นๆ ในหมู่บ้านซึ่งมีอยู่มาก ลดลงด้วย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวีจึงได้จัดทำโครงการ ลดน้ำหนัก พิชิตความอ้วน ตามวิธีชุมชน ปีงบประมาณ 2564 ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนอยู่ในระดับดีอย่างน้อยร้อยละ 80
  2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วนที่มีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์มีน้ำหนักตัวลดลง อย่างน้อยร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะอ้วน
  3. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วน มีความรู้ในการป้องกันโรคอ้วน การรับรู้โอกาสเสี่ยง และความรุนแรงของโรคอ้วน อยู่ในระดับสูงอย่างน้อยร้อยละ 80

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้อยละ 80 ของ อสม.และประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วน และสามารถป้องกันพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วน     2.ร้อยละ20 ของคนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์สามารถลดน้ำหนักได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนอยู่ในระดับดีอย่างน้อยร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วนที่มีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์มีน้ำหนักตัวลดลง อย่างน้อยร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะอ้วน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วน มีความรู้ในการป้องกันโรคอ้วน การรับรู้โอกาสเสี่ยง และความรุนแรงของโรคอ้วน อยู่ในระดับสูงอย่างน้อยร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนอยู่ในระดับดีอย่างน้อยร้อยละ 80 (2) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วนที่มีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์มีน้ำหนักตัวลดลง อย่างน้อยร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะอ้วน (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะอ้วน มีความรู้ในการป้องกันโรคอ้วน การรับรู้โอกาสเสี่ยง และความรุนแรงของโรคอ้วน อยู่ในระดับสูงอย่างน้อยร้อยละ 80

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการกิจกรรมลดน้ำหนัก พิชิตความอ้วน ตามวิธีชุมชน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L3031-12-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมูฮัมมัดเฟาซี ลาเต๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด