กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี


“ โครงการวัคซีนป้องกันจมน้ำ ปี 2564 ”

ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางไพลิน โคตรมิตร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี

ชื่อโครงการ โครงการวัคซีนป้องกันจมน้ำ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4135-01-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัคซีนป้องกันจมน้ำ ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัคซีนป้องกันจมน้ำ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัคซีนป้องกันจมน้ำ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4135-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยแพร่ข้อมูลจากมรณบัตรในปี 2562 มีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำสูงถึง 3,306 ราย เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 559 ราย ส่วนข้อมูลจากคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่าในปี 2563ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 30 กันยายน 2563 มีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ประสบเหตุจมน้ำมากถึง 692 ราย และเฉพาะวันที่ 12 - 18 ตุลาคม 2563 เสียชีวิตจากการจมน้ำ 7 ราย ส่วนใหญ่เกิดจากพลัดตกน้ำ ว่ายน้ำไม่เป็น และขาดทักษะเอาชีวิตรอดและขาดการช่วยเหลือที่ถูกต้อง
นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค ว่า ข้อมูลในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ( ปี 2553 – 2562 ) พบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี โดยมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงถึง 8,394 ราย เฉลี่ยปีละ 839 ราย หรือวันละ 2 ราย ส่วนสถานที่เกิดเหตุส่วนใหญ่เป็นแหล่งน้ำสาธารณะที่อยู่ในชุมชน เช่น สระน้ำ บ่อขุดเพื่อการเกษตร ฝายทดน้ำ อ่างเก็บน้ำ เป็นต้น จากการเฝ้าระวังเหตุการณ์ในปี 2563 ถึงปัจจุบัน ได้รับรายงานเหตุการณ์จมน้ำเสียชีวิต 34 เหตุการณ์ จาก 20 จังหวัด มีผู้เสียชีวิตรวม 49 ราย ส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 69.4 แหล่งน้ำที่เกิดเหตุสูงสุด ได้แก่ ทะเล, บ่อน้ำ/สระสาธารณะ, แหล่งน้ำคู/หนอง/คลองธรรมชาติ อย่างละ 6 เหตุการณ์ และแม่น้ำ, สระขุด/บ่อน้ำขุด,คลองส่งน้ำ/คลองชลประทานเพื่อการเกษตร อย่างละ 3 เหตุการณ์ เป็นต้น” ในส่วนของตำบลบุดีเป็นตำบลที่มีแหล่งน้ำเสี่ยงอยู่หลายที่ เช่น ลำคลองหลายสาย และมีอ่างเก็บน้ำ ต่างก็มีระดับน้ำที่ค่อนข้างสูง และการไหลเชี่ยวของสายน้ำค่อนข้างแรง มีจุดเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุจมน้ำอยู่หลายพื้นที่ เมื่อปี 2563 พบเด็กจมน้ำเสียชีวิต จำนวน 1 ราย ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดีได้เล็งเห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ จึงได้จัดทำโครงการ วัคซีนป้องกันจมน้ำ ปีงบประมาณ 2564 เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครองในชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือ
ผู้จมน้ำ และการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ และเพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
  2. 2. เพื่อให้เด็กมีความรู้และมีทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำ
  3. 3. เพื่อให้เด็กสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม และฝึกปฎิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี มีความรู้และมีทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำที่ถูกต้อง
  2. เด็กนักเรียนที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและสามารถปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้
  3. เด็กนักเรียนที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้เด็กมีความรู้และมีทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อให้เด็กสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ (2) 2. เพื่อให้เด็กมีความรู้และมีทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำ (3) 3. เพื่อให้เด็กสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม และฝึกปฎิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัคซีนป้องกันจมน้ำ ปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4135-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางไพลิน โคตรมิตร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด