กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่


“ โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่ ประจำปี 2564 ”

ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูไวบ๊ะ บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่ ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4141-01-01 เลขที่ข้อตกลง 004/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่ ประจำปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่ ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่ ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4141-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มเยาวชน เป็นกลุ่มเป้าหมายทางสังคมที่ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ และ สังคมที่จะต้องให้ความสำคัญกับกลุ่มนักเรียน และ เยาวชนในกลุ่มนี้ ซึ่งเป็นกลุ่มที่อ่อนไหว และ เป็นกลุ่มเสี่ยง ถ้าได้รับการอบรมดี ศึกษาเล่าเรียนดีก็จะ เป็นคนดีของสังคม แต่ถ้าไม่ให้ความสำคัญเขาก็จะเป็นกลุ่มที่ติดเพื่อน มั่วสุม เสพ สูบบุหรี่ และ สารเสพติดอื่น ๆ กลายเป็นปัญหาของครอบครัว ผู้ปกครอง และ สังคม

ปัจจุบันเยาวชนมีอัตราการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้นอย่างแพร่หลาย ซึ่งมาจากหลายสาเหตุ ปัจจัยสำคัญเกิดจากความอยากรู้อยากลอง ซึ่งเป็นธรรมชาติของวัยรุ่นทึ่คิดว่าความอยากลองเป็นเรื่องที่ท้าทาย น่าตื่นเต้น และสนุกสนาน

จากปัญหาข้างต้นส่งผลให้ประชากรไทยเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ปีละประมาณ 50,710 คน คิดเป็นร้อยละ 12 มูลค่าการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่วัดได้ประมาณปีละ 52,200 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.5 ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ มูลค่าการสูญเสียด้านการรักษาพยาบาลโดยตรงประมาณปีละ 10,137 ล้านบาท ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ แม้หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนจะใช้ กลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อควบคุมการสูบบุหรี่ และทำให้แนวโน้มการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ลดลง แต่แนวโน้มการสูบบุหรี่ ในเยาวชนกลับเพิ่มขึ้นโดยกลุ่มเยาวชนมักเริ่มสูบบุหรี่ครั้งแรกเมื่ออายุ 15.6 ปี ซึ่งการสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญ ของการติดสิ่งเสพติดอื่น ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ผลักดันให้เยาวชนก่อปัญหาสังคม ดังนั้น การป้องกันเยาวชนไม่ให้ สูบบุหรี่จึงเป็นทางออกที่จะช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากเยาวชน ลดความเจ็บป่วย เพิ่มคุณภาพชีวิตของ เยาวชน ลดภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสาธารณสุขของประเทศ และเสริมสร้างพลังเยาวชนให้มีความพร้อมในการ พัฒนาประเทศ (Jewpattanakul & Petchroung, 2016) ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลำใหม่ ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงโทษของการสูบบุหรี่ ที่มีต่อผู้สูบเอง และบุคคลรอบข้าง และโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ที่จะส่งผลต่อผู้สูบและบุคคลรอบข้าง จึงได้จัดทำโครงการอบรมเยาวชน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงโทษ และพิษภัยของบุหรี่ และยาเสพติดประเภทอื่น ๆ
  2. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษ และพิษภัยของบุหรี่
  3. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนตระหนักที่พิษภัยของบุหรี่ และไม่สูบบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เยาวชนในสถานศึกษา
  2. จัดทำเอกสาร ประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชน ได้รับรู้โทษ พิษภัยบุหรี่และสารเสพติด
  2. เยาวชน ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและสังคมอย่างเหมาะสม
  3. เยาวชน หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี
  4. เยาวชนเป็นคนดีของสังคม และบำเพ็ญประโยชน์ต่อสาธารณะ และส่วนรวม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เยาวชนในสถานศึกษา

วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้กับเยาวชนในสถานศึกษา จำนวน 100 คน เกี่ยวกับเรื่อง ชนิดของยาเสพติด ประเภทของยาเสพติด ชนิดของบุหรี่ โทษของบุหรี่แต่ละชนิด แนวทางและวิธีการเลิกบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชน จำนวน 100 คน ได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด บุหรี่ และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด บุหรี่

 

100 0

2. จัดทำเอกสาร ประชาสัมพันธ์

วันที่ 14 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงโทษ และพิษภัยของบุหรี่ และยาเสพติดประเภทอื่น ๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ของเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงโทษ และพิษภัยของบุหรี่และยาเสพติดประเภทอื่น ๆ
95.00

 

2 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษ และพิษภัยของบุหรี่
ตัวชี้วัด : เด็ก เยาวชน และประชาชนมีความรู้ ถึงโทษของบุหรี่
100.00

 

3 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนตระหนักที่พิษภัยของบุหรี่ และไม่สูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ของเยาวชนตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่
95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงโทษ และพิษภัยของบุหรี่ และยาเสพติดประเภทอื่น ๆ (2) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษ และพิษภัยของบุหรี่ (3) เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนตระหนักที่พิษภัยของบุหรี่ และไม่สูบบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เยาวชนในสถานศึกษา (2) จัดทำเอกสาร ประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่ ประจำปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4141-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสูไวบ๊ะ บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด