กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-L4135-01-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางไพลิน โคตรมิตร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ อันตรายของการเกิดโรคมะเร็ง

หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของการเกิดโรคมะเร็ง

0.00
2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับการคัดกรองมะเร็งเปากมดลูก

0.00
3 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ุมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลตนเอง

หญิงวัยเจริญพันธ์มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลตนเอง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 27,000.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 อบรมให้ความรู้แก่กลุ่ม เป้าหมายอายุ 30-60 ปี 0 15,000.00 -
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 รณรงค์ตรวจค้นหา มะเร็งปากมดลูก 0 12,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องอันตรายจากมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 80 2.ผู้ที่เข้ารับการอบรมตามกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 3.ร้อยละ 100 ของสตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ม.ค. 2564 00:00 น.