โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางผุสดี ถัดสีทัย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564
ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3346-2-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3346-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การออกกำลังกายตามวัยแต่ละวัย ควรทำอย่างเหมาะสมในวัยเด็กและเยาวชน ซึ่งการออกกำลังกายและทานอาหารทำให้คุณภาพชีวิตของคนในสังคมเปลี่ยนไป และการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านโซเชี่ยล ที่ทำให้อยู่ในอิริยาบถซ้ำๆ เดิม ๆ ขาดการออกกำลังกาย อีกทั้งยังใส่ใจเรื่องการเลือกรับประทานอาหารน้อยลง ด้วยวัฒนธรรมการกินที่ไม่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ กินแบบเร่งเวลา ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ตามมา การออกกำลังกายเป็นการชะลอการเสื่อมของร่างกายและส่งเสริมให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย วัยเด็กเป็นวัยที่อยู่ในช่วงของการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา การออกกำลังกายจะช่วยส่งเสริมให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ ระบบข้อต่อต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมสุขภาพจิตของเด็กได้อีกด้วย
หลักของการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชน การออกกำลังกาย ได้แก่ วิ่ง เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น ฟุตบอล บาสเก็ตบอล เทนนิส แบดมินตัน ว่ายน้ำ ความหนักของการออกกำลังกาย โดยให้อัตราการเต้นของหัวใจอยู่ระหว่าง 60-80% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด ส่วนความนานของการออกกำลังกาย ใช้เวลา 20 - 60 นาที และ ความบ่อยของการออกกำลังกาย 3 - 5 วันต่อสัปดาห์ ควรเน้นความสนุกสนาน รูปแบบที่ง่าย ๆ และควรคำนึงถึงความปลอดภัย ไม่หนักเกินไป ควรจัดกิจกรรมในลักษณะค่อย ๆ เพิ่มระดับความหนักของการออกกำลังกายจนถึงระดับหนักปานกลาง ควรอบอุ่นร่างกายก่อนออกกำลังกาย และผ่อนร่างกายหลังการออกกำลังกายทุกครั้ง รวมทั้งการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ควรใช้กิจกรรมลุกนั่ง ดันพื้น โหนบาร์ ยกลูกน้ำหนักที่ไม่หนักมากการมีสุขภาพดีของมนุษย์ขึ้นอยู่กับปัจจัย 5 ประการได้แก่
1. อาหารที่ถูกสุขลักษณะมีสารอาหารที่ร่างกายต้องการ ในวัยเยาว์ช่วยเรื่องการเจริญเติบโตเมื่อร่างกายเริ่มเสื่อมถอย อาหารที่สารอาหารครบช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
2. อากาศบริสุทธิ์เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องการ โดยเฉพาะอากาศที่บริสุทธิ์เพื่อให้ร่างกายรับออกซิเจนได้เต็มที่ เพื่อนำไปใช้ในการหล่อเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกายหากร่างกายขาดออกซิเจนหรือได้รับออกซิเจนในปริมาณต่ำเกินไป จะทำให้ร่างกายอ่อนแอ มีแนวโน้มที่จะเกิดโรคร้ายแม้แต่มะเร็ง
3. อารมณ์ คงเคยได้ยินคำพูดที่ว่ามนุษย์เรานั้นใจคุมกาย อารมณ์ที่ดีมีผลต่อการผลิตฮอร์โมนในร่างกาย คนที่สะสมความเครียดไว้ในชีวิต ร่างกายจะทำงานผิดปกติตั้งแต่ระบบกล้ามเนื้อ
4. อุจจาระ ร่างกายจำเป็นต้องขับถ่ายของเสียไม่ให้ดูดซึมกลับเข้าสู่ร่างกาย ดังนั้นหากต้องการมีสุขภาพดี จึงต้องบริหารเรื่องการขับถ่ายให้มีคุณภาพด้วย
5. ออกกำลังกาย เพราะร่างกายของมนุษย์ถูกสร้างขึ้นให้ต้องมีการเคลื่อนไหวเพื่อสร้างกล้ามเนื้อ ให้มีความยืดหยุ่น การฝืนร่างกาย ไปกับอิริยาบถที่ไม่เป็นตามธรรมชาติ ทำให้มีผลแปรปรวน ทั้งกล้ามเนื้อที่ไม่มีแรง ระบบเส้นเอ็นขึงตึง จนถึงทำงานผิดปกติ มีพังผืดเกาะ ทำให้สุขภาพย่ำแย่ลง
เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ซึ่งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กและเยาวชนจึงได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1.พัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกาย 2. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโภชนาการ 3. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้ความความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลอื่นและสามารถเผยแพร่ข้อมูลไปยังชุมชนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- - อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและผู้อื่น และสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนในชุมชน
เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจให้กับตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1.พัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกาย 2. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโภชนาการ 3. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้ความความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลอื่นและสามารถเผยแพร่ข้อมูลไปยังชุมชนได้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 เด็กและเยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและผู้อื่น และสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนในชุมชน
2. ร้อยละ 85 เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจให้กับตนเอง
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.พัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกาย 2. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโภชนาการ 3. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้ความความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลอื่นและสามารถเผยแพร่ข้อมูลไปยังชุมชนได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3346-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางผุสดี ถัดสีทัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางผุสดี ถัดสีทัย
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3346-2-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3346-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การออกกำลังกายตามวัยแต่ละวัย ควรทำอย่างเหมาะสมในวัยเด็กและเยาวชน ซึ่งการออกกำลังกายและทานอาหารทำให้คุณภาพชีวิตของคนในสังคมเปลี่ยนไป และการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านโซเชี่ยล ที่ทำให้อยู่ในอิริยาบถซ้ำๆ เดิม ๆ ขาดการออกกำลังกาย อีกทั้งยังใส่ใจเรื่องการเลือกรับประทานอาหารน้อยลง ด้วยวัฒนธรรมการกินที่ไม่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ กินแบบเร่งเวลา ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ตามมา การออกกำลังกายเป็นการชะลอการเสื่อมของร่างกายและส่งเสริมให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย วัยเด็กเป็นวัยที่อยู่ในช่วงของการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา การออกกำลังกายจะช่วยส่งเสริมให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ ระบบข้อต่อต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมสุขภาพจิตของเด็กได้อีกด้วย หลักของการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชน การออกกำลังกาย ได้แก่ วิ่ง เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น ฟุตบอล บาสเก็ตบอล เทนนิส แบดมินตัน ว่ายน้ำ ความหนักของการออกกำลังกาย โดยให้อัตราการเต้นของหัวใจอยู่ระหว่าง 60-80% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด ส่วนความนานของการออกกำลังกาย ใช้เวลา 20 - 60 นาที และ ความบ่อยของการออกกำลังกาย 3 - 5 วันต่อสัปดาห์ ควรเน้นความสนุกสนาน รูปแบบที่ง่าย ๆ และควรคำนึงถึงความปลอดภัย ไม่หนักเกินไป ควรจัดกิจกรรมในลักษณะค่อย ๆ เพิ่มระดับความหนักของการออกกำลังกายจนถึงระดับหนักปานกลาง ควรอบอุ่นร่างกายก่อนออกกำลังกาย และผ่อนร่างกายหลังการออกกำลังกายทุกครั้ง รวมทั้งการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ควรใช้กิจกรรมลุกนั่ง ดันพื้น โหนบาร์ ยกลูกน้ำหนักที่ไม่หนักมากการมีสุขภาพดีของมนุษย์ขึ้นอยู่กับปัจจัย 5 ประการได้แก่ 1. อาหารที่ถูกสุขลักษณะมีสารอาหารที่ร่างกายต้องการ ในวัยเยาว์ช่วยเรื่องการเจริญเติบโตเมื่อร่างกายเริ่มเสื่อมถอย อาหารที่สารอาหารครบช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ 2. อากาศบริสุทธิ์เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องการ โดยเฉพาะอากาศที่บริสุทธิ์เพื่อให้ร่างกายรับออกซิเจนได้เต็มที่ เพื่อนำไปใช้ในการหล่อเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกายหากร่างกายขาดออกซิเจนหรือได้รับออกซิเจนในปริมาณต่ำเกินไป จะทำให้ร่างกายอ่อนแอ มีแนวโน้มที่จะเกิดโรคร้ายแม้แต่มะเร็ง 3. อารมณ์ คงเคยได้ยินคำพูดที่ว่ามนุษย์เรานั้นใจคุมกาย อารมณ์ที่ดีมีผลต่อการผลิตฮอร์โมนในร่างกาย คนที่สะสมความเครียดไว้ในชีวิต ร่างกายจะทำงานผิดปกติตั้งแต่ระบบกล้ามเนื้อ 4. อุจจาระ ร่างกายจำเป็นต้องขับถ่ายของเสียไม่ให้ดูดซึมกลับเข้าสู่ร่างกาย ดังนั้นหากต้องการมีสุขภาพดี จึงต้องบริหารเรื่องการขับถ่ายให้มีคุณภาพด้วย 5. ออกกำลังกาย เพราะร่างกายของมนุษย์ถูกสร้างขึ้นให้ต้องมีการเคลื่อนไหวเพื่อสร้างกล้ามเนื้อ ให้มีความยืดหยุ่น การฝืนร่างกาย ไปกับอิริยาบถที่ไม่เป็นตามธรรมชาติ ทำให้มีผลแปรปรวน ทั้งกล้ามเนื้อที่ไม่มีแรง ระบบเส้นเอ็นขึงตึง จนถึงทำงานผิดปกติ มีพังผืดเกาะ ทำให้สุขภาพย่ำแย่ลง
เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ซึ่งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กและเยาวชนจึงได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1.พัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกาย 2. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโภชนาการ 3. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้ความความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลอื่นและสามารถเผยแพร่ข้อมูลไปยังชุมชนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- - อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและผู้อื่น และสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนในชุมชน เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจให้กับตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1.พัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกาย 2. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโภชนาการ 3. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้ความความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลอื่นและสามารถเผยแพร่ข้อมูลไปยังชุมชนได้ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 เด็กและเยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและผู้อื่น และสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนในชุมชน 2. ร้อยละ 85 เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจให้กับตนเอง |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.พัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังกาย 2. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโภชนาการ 3. เพื่อพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนให้ความความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลอื่นและสามารถเผยแพร่ข้อมูลไปยังชุมชนได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กและเยาวชนคนรักสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3346-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางผุสดี ถัดสีทัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......