กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภัยพิบัติและป้องกันควบคุมโรคอุบัติการณ์ใหม่
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลปริก
วันที่อนุมัติ 19 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ พ.จ.อ.หญิงคณัสนันท์ สิทธิศักดิ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.694,100.473place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
100.00
2 ร้อยละเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
100.00
3 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
100.00
4 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรีย
100.00
5 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า
100.00
6 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
100.00
7 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
100.00
8 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(ร้อยละ)

100.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ)

100.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)

100.00
4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้มาลาเรีย (ร้อยละ)

100.00
5 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า

การสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(ร้อยละ)

100.00
6 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

100.00
7 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

100.00
8 เพื่อให้คนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19 เพิ่มขึ้น

ร้อยละของคนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 100,000.00 0 0.00
19 ม.ค. 64 ประชุมผู้บริหารปลัดเทศบาลผู้อำนวยการกองและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางช่วยเหลือแก้ปัญหาพื้นที่ 0 750.00 -
19 ม.ค. 64 จัดซื้อ/จัดจ้างต่างๆ เช่น ถ่ายเอกสาร แผ่นพับ แผ่นปลิว ไวนิล แผนที่ระบาด เคมีวัสดุเวชภัณฑ์ วัสดุทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง และการประชาสัมพันธ์ในการป้องกันโรคติดต่อ 0 75,400.00 -
19 ม.ค. 64 ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงผู้ได้รับผลกระทบลงพื้นที่เชิงรุกให้ความรู้เพื่อป้องกันควบคุมโรคระบาด 0 17,600.00 -
19 ม.ค. 64 ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ 0 6,250.00 -

ขี่นเตรียมการระยะก่อนเกิดภัย 1. ประชุมผู้บริหาร ปลัดเทศบาล ผู้อำนวยการกอง และผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางช่วยเหลือแก้ปัญหาพื้นที่ 2. สำรวจข้อมูลที่ได้รับผลกระทบ 3. จัดซื้อ จัดจ้าง และเตรียมวัสดุทางการแพทย์ อุปกรณ์ เอกสาร ที่เกี่ยวข้องในการป้อง ควบคุมโรค หรือภับพิบัติที่เกิดขึ้น 4.จัดตั้งจุดคัดกรองในพื้นที่ให้เป็นไปตามมาตราการกระทรวงสาธารณสุข ขั้นดำเนินการในระยะเกิดภัย 1. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ 2. ดำเนินงานลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ ลงพื้นที่ส่งเสริมให้ความรู้ ป้องกันควบคุมโรคและรักษาพยาบาลเชิงรุกให้กลุุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบ 3. ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ขั้นดำเนินการระยะหลังภัยพิบัติ 1. ส่งเสริมความรู้ผู้ประสบภัยในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ลดความเครียดจากภาวะที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ 2. ส่งเสริมการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม 3. ประชุมติดตามการดำเนินงานและสถานการณ์และหาแนวทางการแก้ไข

  1. สรุปผลการดำเนินงานเสนอผู้บริหารเทศบาลและนำเนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการช่วยเหลือ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ
  2. ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับส่งเสริมและป้องกันควบคุมโรค หรือการช่วยเหลือผลกระทบทางสุขภาพสิ่งแวดล้แมให่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้สามารถดำรงชีวิตเป็นอย่าปกติ
  3. เกิดการทำงานอย่างมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เช่น ท้องถิ่น ท้องที่ ส่วนราชการ และภาคพลเมือง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ม.ค. 2564 17:31 น.