โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภานันท์ ดังศรีเทศ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4141-02-04 เลขที่ข้อตกลง 009/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4141-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งเป็นบ่อนทำลายทรัพยากรและความมั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปรามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อน การดำเนินการจำเป็นต้องวางแผนสำหรับดำเนินงานในแต่ละด้านอย่างรอบคอบ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยแห่งเดียวเท่านั้น ประเทศอื่นๆก็ได้มีความพยายามที่จะยับยั้งการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่ตลอดเวลา
ปัจจุบันนี้ ยาเสพติดได้เข้ามาแพร่หลายในสังคมเราเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นเฮโรอีน มอร์ฟีน และอื่นๆ อีกกว่า 100 ชนิด ซึ่งนอกจากผู้ใหญ่จะติดยาเสพติดแล้ว ก็ยังมีเยาวชนไทยอายุน้อยๆ ลงไป ติดยาเสพติดเหล่านี้อีกด้วย ซึ่งนับว่าเป็นการสูญเสียทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง เพราะนอกจากผู้เสพยาเสพติดทั้งหลายนี้ จะได้สามารถประกอบอาชีพทำการงานต่างๆไม่ได้แล้ว ยังก่ออาชญากรรม ทำให้เกิดปัญหาต่อสังคม กระทบกระเทือนต่อประชาชนผู้ไม่ได้เสพยาเสพติดอีกด้วย การที่จะให้เด็กและเยาวชนห่างไกลจากยาเสพติดนั้น จำเป็นจะต้องแก้ไขปัญหาพื้นฐานที่เป็นสาเหตุของการนำไปสู่การใช้ยาเสพติด ได้แก่ ปัญหาครอบครัว เพื่อนชักนำ ความอยากลอง
จากปัญหาดังที่กล่าวมาข้างต้น งานป้องกันและบรรเทาสาธารณได้เจาะกลุ่มเป้าหมายไปที่กลุ่มเด็กประถมปลายและวัยรุ่นในชุมชน เพราะเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มในการติดยาเสพติดเพิ่มขึ้นมากในขณะนี้ จากการสอบถามได้ทราบว่าการเริ่มสูบบุหรี่และใช้ยาเสพติดชนิดอื่นเป็นเพราะเพื่อนชักนำถ้าไม่เอาด้วยจะไม่สามารถเข้ากลุ่มกับเขาได้ จากการสอบถามเพิ่มเติมพบว่ากลุ่มเสี่ยงวัยนี้มีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและโทษทางกฎหมายน้อยมาก และจะมีพฤติกรรมที่ต่อต้านถ้าบุคคลในครอบครัวมาเตือนเรื่องยาเสพติดกลับตรงกันข้ามถ้าเป็นบุคคลอื่น อาทิ เพื่อน บุคคลที่ไม่ใช่คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน ผู้นำชุมชนก็จะลดพฤติกรรมต่อต้านลง
ดังนั้น งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ จึงได้จัดทำโครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 เพื่อเป็นแกนนำในการสอดส่องเรื่องยาเสพติดในชุมชน การพูดคุยทำความเข้าใจแนะนำหรือตักเตือนกลุ่มเสี่ยง รวมทั้งเป็นเครือข่ายกับหน่วยงานในพื้นที่ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนของตนเองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- แกนนำที่ผ่านการอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติดเป็นเพิ่มมากขึ้น
- แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องยาเสพติดกับกลุ่มเสี่ยง และวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ
- แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมบรรยายให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ยาเสพติดในชุมชนลดลง
- กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าในเรื่องยาเสพติดและกล้าปฏิเสธการชักนำ
- มีเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันยาเสพติดในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมบรรยายให้ความรู้
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำ
บรรยายให้ความรู้เรื่อง
- การให้ความรู้เรื่องยาเสพติดชนิดต่างๆ
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องเรื่องยาเสพติด
- วิธีการสังเกตพฤติกรรม การปฏิบัติตนของผู้เสพยา
กิจกรรมแบ่งกลุ่ม
- นันทนาการเชิงความรู้เรื่องยาเสพติด
- บทบาทและหน้าที่ในการเป็นแกนนำ
- วิธีพูดแนะนำ โน้มน้าวทางจิตใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แกนนำ จำนวน 20 คน มีความรู้เรื่องยาเสพติดเป็นเพิ่มมากขึ้น
แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องยาเสพติดกับกลุ่มเสี่ยง และวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ
แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
แกนนำที่ผ่านการอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติดเป็นเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ แกนนำมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติดเป็นอย่างดี
95.00
100.00
2
แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องยาเสพติดกับกลุ่มเสี่ยง และวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ เมื่อแกนนำได้พูดคุยหรือแนะนำกลุ่มเสี่ยง ทำให้มีวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ ปริมาณยาเสพติดในชุมชนก็น้อยลง
90.00
3
แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
95.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) แกนนำที่ผ่านการอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติดเป็นเพิ่มมากขึ้น (2) แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องยาเสพติดกับกลุ่มเสี่ยง และวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ (3) แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมบรรยายให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4141-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุภานันท์ ดังศรีเทศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภานันท์ ดังศรีเทศ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4141-02-04 เลขที่ข้อตกลง 009/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4141-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งเป็นบ่อนทำลายทรัพยากรและความมั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปรามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อน การดำเนินการจำเป็นต้องวางแผนสำหรับดำเนินงานในแต่ละด้านอย่างรอบคอบ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยแห่งเดียวเท่านั้น ประเทศอื่นๆก็ได้มีความพยายามที่จะยับยั้งการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่ตลอดเวลา
ปัจจุบันนี้ ยาเสพติดได้เข้ามาแพร่หลายในสังคมเราเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นเฮโรอีน มอร์ฟีน และอื่นๆ อีกกว่า 100 ชนิด ซึ่งนอกจากผู้ใหญ่จะติดยาเสพติดแล้ว ก็ยังมีเยาวชนไทยอายุน้อยๆ ลงไป ติดยาเสพติดเหล่านี้อีกด้วย ซึ่งนับว่าเป็นการสูญเสียทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง เพราะนอกจากผู้เสพยาเสพติดทั้งหลายนี้ จะได้สามารถประกอบอาชีพทำการงานต่างๆไม่ได้แล้ว ยังก่ออาชญากรรม ทำให้เกิดปัญหาต่อสังคม กระทบกระเทือนต่อประชาชนผู้ไม่ได้เสพยาเสพติดอีกด้วย การที่จะให้เด็กและเยาวชนห่างไกลจากยาเสพติดนั้น จำเป็นจะต้องแก้ไขปัญหาพื้นฐานที่เป็นสาเหตุของการนำไปสู่การใช้ยาเสพติด ได้แก่ ปัญหาครอบครัว เพื่อนชักนำ ความอยากลอง
จากปัญหาดังที่กล่าวมาข้างต้น งานป้องกันและบรรเทาสาธารณได้เจาะกลุ่มเป้าหมายไปที่กลุ่มเด็กประถมปลายและวัยรุ่นในชุมชน เพราะเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มในการติดยาเสพติดเพิ่มขึ้นมากในขณะนี้ จากการสอบถามได้ทราบว่าการเริ่มสูบบุหรี่และใช้ยาเสพติดชนิดอื่นเป็นเพราะเพื่อนชักนำถ้าไม่เอาด้วยจะไม่สามารถเข้ากลุ่มกับเขาได้ จากการสอบถามเพิ่มเติมพบว่ากลุ่มเสี่ยงวัยนี้มีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและโทษทางกฎหมายน้อยมาก และจะมีพฤติกรรมที่ต่อต้านถ้าบุคคลในครอบครัวมาเตือนเรื่องยาเสพติดกลับตรงกันข้ามถ้าเป็นบุคคลอื่น อาทิ เพื่อน บุคคลที่ไม่ใช่คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน ผู้นำชุมชนก็จะลดพฤติกรรมต่อต้านลง
ดังนั้น งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ จึงได้จัดทำโครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 เพื่อเป็นแกนนำในการสอดส่องเรื่องยาเสพติดในชุมชน การพูดคุยทำความเข้าใจแนะนำหรือตักเตือนกลุ่มเสี่ยง รวมทั้งเป็นเครือข่ายกับหน่วยงานในพื้นที่ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนของตนเองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- แกนนำที่ผ่านการอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติดเป็นเพิ่มมากขึ้น
- แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องยาเสพติดกับกลุ่มเสี่ยง และวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ
- แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมบรรยายให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ยาเสพติดในชุมชนลดลง
- กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าในเรื่องยาเสพติดและกล้าปฏิเสธการชักนำ
- มีเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันยาเสพติดในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมบรรยายให้ความรู้ |
||
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำบรรยายให้ความรู้เรื่อง
กิจกรรมแบ่งกลุ่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | แกนนำที่ผ่านการอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติดเป็นเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ แกนนำมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติดเป็นอย่างดี |
95.00 | 100.00 |
|
|
2 | แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องยาเสพติดกับกลุ่มเสี่ยง และวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ ตัวชี้วัด : ร้อยละ เมื่อแกนนำได้พูดคุยหรือแนะนำกลุ่มเสี่ยง ทำให้มีวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ ปริมาณยาเสพติดในชุมชนก็น้อยลง |
90.00 |
|
||
3 | แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ |
95.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | 20 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) แกนนำที่ผ่านการอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติดเป็นเพิ่มมากขึ้น (2) แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องยาเสพติดกับกลุ่มเสี่ยง และวิธีการหลีกเลี่ยง ปฏิเสธจากการชักนำ (3) แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมบรรยายให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแกนนำพาพ้นภัย (ยาเสพติด) ประจำปี 2564 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4141-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุภานันท์ ดังศรีเทศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......